Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินโครงสร้างกล้ามเนื้อ และผู้ป่วยจมน้ำ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินโครงสร้างกล้ามเนื้อ
และผู้ป่วยจมน้ำ
การบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Pelvic fracture และ Open fracture
ต้องระวังเรื่อง การเสียเลือดจนทำให้เกิด hypovolemic shock ได้
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม ปวดมาก
ต้องระวัง compartment syndrome หากได้รับการช่วยเหลือช้าอาจได้รับความพิการได้
กระดูกหัก multiple long bone fracture
มีโอกาสเกิดภาวะ pulmonary embolism
ปัญหาที่สำคัญ
การเสียเลือดจากการบาดเจ็บ
เกิดภาวะ hypovolemic หรือ hemorrhage shockได้
(การ control bleeding ดีที่สุดคือ direct pressure ด้วย sterile pressure dressing)
การพยาบาล
immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
ใส่splintให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหักเพื่อลดการขยับให้ปวดน้อยที่สุด
การตรวจผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมี 3ขั้นตอน
การตรวจและรักษา life threatening และResuscitation
การตรวจคร่าวๆเพื่อ Screening test ใช้ระยะเวลาสั้นๆเมื่อพบผู้ป่วยครั้งแรกในเมื่อผู้ป่วยมีความรู้สึกตัวดี
กระดูกซี่โครงหากผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของกระดูกซี่โครง
กระดูกเชิงกราน ถ้ากระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวด
การตรวจอย่างละเอียดอาจะพบกระดูกโก่งงอ บิดหมุน การเคลื่อนไหวผิดปกติ มีเสียงกระดูกขัดกัน
Definitive care หลักการรักษากระดูกหักสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการบาดเจ็บกระดูกและข้อทุกชนิด
Recognition การตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น
Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่โดยแพทย์ มีทั้งแบบ close reduction และ open reduction
Immobilization การประคับประคอวให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด
ภาวะกระดูกคุกคามชีวิต
Major pelvic disruption with hemorrhage
ต้องคำนึงถึงภาวะ unstable pelvic fracture การฉีกขาดของอวัยวะภายใน และการบาดเจ็บของ bladder และurethra
ต้องตรวจร่างกายดูว่ามีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic คลำจะพบกระดูก Pelvicแตก พบ hight-riding prostate gland มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหวจะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้นถูกกล้ามเนื้อดึงขึ้นด้านบนและหมุนออกด้านนอก
การช่วยเหลือเบื้อต้นโดยการทำ stabilization pelvic ring อาจต้อง consult หมอเฉพาะทาง
Major Arteria Hemorrhage
pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลำได้ thrill
ฟังได้ยินเสียง bruit
6P pain, pallor, poikilothermia, paresthesia, paralysis, pulselessness
การช่วยเหลือเบื้อต้น ควรทำ Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด, fluid resuscitation, รายกระดูกผิดรูปให้ จัดกระดูกให้เข้าที่ แล้วทำการ splint
crush syndrome ภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้อรุนแรง
ทำให้เซลล์กล้ามเนื้อขาดเลือดและตายแล้วปล่อย myoglobin เกิดภาวะ rhabdomyolysis
อาการที่พบ dark urine, myoglobin ได้ผลบวก
การช่วยเหลือเบื้องต้นแพทย์พิจราณาให้ Sodium bicarbonate เพื่อลด myoglobin ที่ไปทำลาย tubular system ประเมินurine outputให้ได้ 100cc/hr.
ผู้ป่วยจมน้ำ
มักตายภายใน 5-10นาทีจากการขาดอากศหายใจ สำลักน้ำ ภาวะหดเกร็งของกล่องเสียงทำให้หายใจไม่ได้
อาจตายหลังจากเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดอักเสบ, การเปลี่ยนแปลงของระดับเกลือแร่ในร่างกาย, ภาวะเลือดเป็นกรด
น้ำจืด มีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือดจึงทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวาย อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตกตามมา
น้ำทะเล มีความเข้มข้นมากกว่าเลือด ปอดจึงดูดซึมน้ำเข้าไปทำให้ปอดบวมน้ำ ระบบไหลเวียนเลือดมีปริมาตรลดลง ระดับเกลือแร่สูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ หรือหัวใจวาย และช็อกได้
การพยาบาล
อุณหภูมิขิงร่างกายหลังจมน้ำ การสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทำให้อุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็วทั้งในเลือดและสมอง ข้อดีคือการเผาผลาญลดลง แต่ผลทำให้หัวใจเต้นผิดปกติ และตายได้
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
ระบบทางเดินหายใจและปอด มีภาวะ pulmonary congestion หรือ edema
1.1 ผู้ป่วยมีการสูดสำลักสารน้ำเข้าไป
tonicity ของสารน้ำ hypotonic solution ได้แก่การจมน้ำจืด เกิดภาวะ Atelectasis, hypertonic solution ได้แก่การจมน้ำทะเล เกิด pulmonary damage
toxicity
particles และ micro-organism
1.2 ผู้ป่วยที่ไม่มีการสำลักน้ำ สมองขาดออกซิเจน ไปกระตุ้นhypothalamus และ ระบบประสาท sympathetic ทำให้ peripheral vasoconstriction เกิด blood flowที่ปอดเพิ่มขึ้นเกิด capillary wall damage และ capillary pressure ที่ปอดเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท ทำให้ cerebral perfusionลดลงเกิด ischemic brain
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจทั้งในน้ำจืด และน้ำทะเล
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosis จาก เยื่อบุถุงลมอักเสบ ถุงลมขาด
น้ำจืด hyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia
น้ำเค็ม hypernatremia, hyperchloremia, hypermagnesemia
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
การปฐมพยาบาล
คนจมน้ำรู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะนำให้พบแพทย์อาจเกิดพาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยหยุดหายใจ ช่วยโดยเรียงจาก A B C
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้หรือหัวใจหยุดเต้น ให้นวดหัวใจทันที
ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง จับผู้ป่วยนอนตะแคง ศีรษะหงายไปด้านหลัง ใช้ผ้าห่มคุลมผู้ป่วย อย่าให้ผู้ป่วยกินอาหารและดื่มน้ำทางปาก
ควรส่งผู้ป่วยจมน้ำไปโรงพยาบาลไม่ว่าจะมีอาการหนักหรือเบา