Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต, นางสาวอรัญญา แจ่มดวง เลขที่ 81 รหัส 623601083 ห้อง…
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
-
โรคหลอดเลือดหัวใจ
เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ เรียกว่า Coronary artery มีรูเปิดโคนเส้นเลือดแดงเอออร์ตา แบ่ง 2 เส้น คือเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา และเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ขวา จะเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านขวาและกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล่าง เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ซ้าย เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายที่เหลือทั้งหมดแตก 2 แขนง แขนงที่มาเลี้ยงด้านหน้า Left anterior desending artery , แขนงที่อ้อมไปด้านหลังเรียกว่า Left circumflex artery
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ กล้ามเนื้อได้รับ oxygen ไม่สมดุลกับ oxygen ที่ใช้
ST Elevation MI กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST Elevation MI =กลุ่มกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจชนิด ST-segment elevation และมี ผลเลือดที่บอกว่ากล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่ม มักเกิดมีลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดทันที การวินิจฉัยที่รวดเร็วและการรักษาจะลดอัตราการเสียชีวิต
การปวด(Angina Pectoris) จากหัวใจเจ็บหรือแน่นหน้าอกเพราะขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจมีอาการปวดร้าวที่ไหล่ เเขนมือซ้าย คอคางไม่กี่นาที
หัวใจวาย(Heart attack) เป็นการเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจอย่างถาวร จะมีอาการรุนแรงมากเหงื่อออก หมดแรง
ปวดหัวใจจากการขาดเลือด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1.แบบคงที่ (Stable angina) เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีตำแหน่งตีบตันทั่วไปอย่างคงที่และมีเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจพอเพียงถ้าคนๆนั้นกำลังนั่งพักหรือหัวใจเต้นช้าๆ ถ้าเริ่มทำงานแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจปริมาณเดิมไม่เพียงพอเกิดเวลามีการใช้กำลังกายหรือมีความเครียดหรือตื่นเต้นโดยไม่เลยไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตาย(Heart attack)
2.แบบไม่คงที่(Unstable angina) เป็นภาวะที่เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจมีการตีบตันอยู่ แต่อยู่ๆเลือดก็ไม่ไหลผ่านไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจซึ่งเกิดขึ้นได้แม้การนั่งพัก นอนหลับ หรือขณะใช้กำลังกาย อาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรงอาจเกิดขึ้นทั้งๆที่ไม่เคยเจ็บหน้าอกมาก่อน จึงอันตรายกว่าเพราะอาจก้าวเลยไปเป็นขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ(Heart attack)ได้
สาเหตุแบบไม่คงที่(Unstable angina)การเกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ซึ่งพอกผนังเลือดอยู่ พอเกิดรอยแยกแล้ว ร่างกายมีการตอบสนอง คือ เม็ดเลือดขาวมาคงบคุมจนเกิดปฏิกิริยาการอักเสบแล้วมีการคั่งแข็งตัวของเลือดใกล้ๆราบไขมันที่แตกนั้น ก้อนเลือดที่คั่งแข็งตัวจะมีขนาดใหญ่ขึ้นจนอุดตัน และเจ็บหน้าอกมากหรือไม่ก็ข้ามขั้นตอนไปเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายถ้าเส้นเลือดแดงตัน
Rheumatic Heart Disease เป็นโรคหัวใจที่ไม่ได้เป็นมาตั้งแต่เกิด พบในเด็กโดยยางครั้งอาการไม่ชัดเจน โตเป็นผู้ใหญ่แล้ว พบ ลิ้นหัวใจพิการขึ้น เป็นสาเหตุของโรคลิ้นหัวใจพิการ(ตีบรั่ว)บ่อยสุด
สาเหตุ
ติดเชื้อคออักเสบ ต่อมทอนซิลอีกเสบจากเชื้อ Beta-hemolytic Streptococcus Group A ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ ร่างกายสร้างภูมิต้านทานเหล่านี้กลับมาทำลายตัวเอง ทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะหลายระบบ
ผลที่ตามมา RHD
จากการเกิดลิ้นหัวใจอักเสบ เกิดผังผืด (fibrois) ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดได้ไม่เต็มที่(ลิ้นหัวใจตีบ) หรือปิดไม่สนิท(ลิ้นหัวใจรั่ว) หรือตีบรั่วใณะเดียวกัน โดยอาจจะเป็นลิ้นเดียวหรือหลายลิ้น
โรคของลิ้นหัวใจ
-
ลิ้นหัวใจรูมาติก (Rheumatic heart disease) เกิดจากการติดเชื้อในลำคอ หรือผิวหนังและทำให้เกิดการสร้างภูมิต้านทานส่งผลให้มีการทำงายเนื้อเยื่ออื่นๆรวมทั้งลิ้นหัวใจด้วย เมื่อลิ้นหัวใจถูกทำงายจะมีพังผืดและหินปูนเกาะทำให้ลิ้นหัวใจเปิด-ปิดไม่ดีเหมือนปกติหัวใจจึงต้องทำงานหนักขึ้น
ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามวัย(Degenerative) เกิดจากการที่ลิ้นหัวใจเสื่อมสภาพตามอายุ ส่วนใหญ่พบในคนอายุ 40 ขึ้นไป จากความยืดหยุ่นของเนื้อเยื่อที่เสื่อมสภาพ ทำให้ลิ้นหัวใจผิดรูปเกิดการปิด-เปิดทำให้เกิดอาการโรคลิ้นหัวใจรั่วได้
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ ทำให้เกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจจะอ่อนแรง เมื่อหนาขึ้นอาจทำให้โรคลิ้นหัวใจรั่วส่วนใหญ่เป็นกับคนอายุ 50-60 ปี
เปรียบเทียบความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจรั่ว ปิดไม่สนิท เลือดไหลย้อนกลับ regurgition
ลิ้นหัวใจตีบ
เปิดไม่เต็มที่ เลือดไหลออกไม่สะดวก stenosis
lาเหตุของความผิดปกติของลิ้นหัวใจ โรครูห์มาติก(Rheumatic fever)
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด ความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดภายหลังเกิดการติดเชื้ออื่นๆที่มีการทำงายลิ้นหัวใจ Bacterial endocarditis Atherosclerosis
-
แบ่งออกเป็นสองส่วน
1.วงจรไหลเวียนทั่วร่างกาย(systemic circulation) เลือดที่ไหลเวียนออกจาก LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้วกลับมาเข้า RA วงจรนี้ทำงานกว้างขวางเรียกว่าวงจรใหญ่ (greater circulation)
2.วงจรไหลเวียนผ่านปอด(pulmonary circulation) เลือดRA จะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปยังปอด กลังจากนั้นกลับเข้า LA ใหม่ การไหลเวียน วงจรนี้ทำงานน้อยกว่าเรียกว่าวงจรเล็ก(lesser circulation)
-
-
การไหลเวียนโลหิต แบ่งเป็นสองส่วน 1.หัวใจพร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด 2.หลอดเลือดมีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไกลการทำงาน
หน้าที่ของหัวใจ หัวใจ 4 ห้อง L/R มีหัวใจห้องบนล่าง ระหว่างห้องบนล่างมีลิ้นหัวใจ ทำหน้าที่เปิดปิด เพื่อให้เลือดไหลในทิศทางเดียวและไม่ไหลย้อนกลับ
Endocarditis (เยื่อบุหัวใจอักเสบ) มักมีลักษณะเป็นก้อนยื่นจากผิวเรียด Vegetation เกิดเชื้อโรคในกระเเสเลือด เช่น ฟันผุ เหงือกอักเสบ ร่างกายติดเชื้อ เชื้อนี้จะไปจับที่ก้อนเลือดเล็กๆที่จับอยู่ตามลิ้น หัวใจหรือตามผนังหัวใจ เรียกว่า "ก้อนเชื้อ(Vegetation)" ก้อนเลือดเล็กๆที่ติดเชื้อเหล่านี้ เมื่อหลุดลอยเข้าโลหิต ก่อการอักเสบ เกิดฝีหนองขึ้นตามร่างกาย Non-infection Endocarditis ไม่พบเชื้อใน vegetation ในผู้ป่วย RHD , infective Endocarditis
infective Endocarditis
-Subacute Bacterial Endocarditis เกิดจาแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย มักเกิดที่ผู้มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด เชื้อพบบ่อย Strep.viridans
-Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง เกิดหัวใจปกติ เชื้อพบบ่อย Staph.aureus
-
Atherosclerosis พบบ่อยที่สุดและสำคัญที่สุด ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ Abdominal aorta พยาธิสภาพคือ พบไขมันสะสมใน tunica intima เห็นเป็นแผ่นนูน(Plaque)สีเหลืองเรียก atheroma --สาเหตุ-- อาหารและภาวะ Hypercholesterolemia ,Hypertention,การสูบบุหรี่, เบสหวาน
Monckeberg medial valcific sclerosis พบในหลอดเลือดขนาดกลาง มี calcification ชั้น Tunica media พบบ่อยในผู้สูงอายุ
Hemorrhoid
Esophageal varices
Thrombophlebitis
-