Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกขาดออกซิเจน เมื่อแรกคลอด, นางสาวสุทัตตา สังข์แก้ว …
การพยาบาลทารกขาดออกซิเจน
เมื่อแรกคลอด
ทารกที่เกิดการบาดเจ็บ
จากการคลอด
สาเหตุ
มารดามีความเสี่ยงสูง เช่น ครรภ์แรก
มีเชิงกรานแคบ ตัวเตี้ย
ทารกมีขนาดใหญ่&อยู่ในท่าผิดปกติ
ผู้ทำคลอดไม่มีความชำนาญ
คลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
ชนิดของการบาดเจ็บ
การบาดเจ็บต่อ
ระบบประสาท
Facial nerve palsy ศีรษะของทารกกด sacrum มารดา ทำให้หย่อนหน้าผากไม่ได้
Brachial plexus palsy ทารกคลอดติดไล่ อาจเกิดการพิการได้
Klumpke's paralysis กล้ามเนื้อมือของทารกทำงานไม่ได้
Complete brachial plexus pasly ทำให้แขนอยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหว ไม่มีความรู้สึก
Erb's palsy จะพบบ่อยที่สุด
Peripheral nerve palsies มักเกิดจากการคลอดลำบาก ทำให้ประสาทของทารกถูกดึงออกจากกัน
กระดูกหัก
กระดูกต้นแขนหัก
กะโหลกศีรษะบุบ
กระดูกไหปลาร้าหัก จะพบได้บ่อยที่สุด
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
หนังศีรษะถลอก มีก้อนบวมน้ำ ก้อนบวมเลือด
มีเลือดออกในร่างกาย
มีผิวหนังเขียวช้ำ
การบาดเจ็บที่ผิวหนัง กล้ามเนื้อหรือเนื้อเยื่อต่างๆ
ทารกแรกเกิดจากมารดา
ติดสารเสพติด
ความรุนแรงอาจมาจาก
ปริมาณ+ชนิดของสารเสพติดที่มารดาเสพ
อายุครรภ์ของทารกในขณะที่คลอด
ระยะเวลาที่มารดาเสพ ถ้าเสพนานๆจะมีอาการรุนแรงมากขึ้น
น้ำหนักของทารกเมื่อแรกคลอด
สารเสพติดที่พบบ่อย
ในหญิงตั้งครรภ์
กระท่อม
บุหรี่และเหล้า จะไม่ค่อยเจอบ่อย
ยาไอซ์ (ยาแก้ไอผสม 4*100)
แอมเฟตามีน (ยาบ้า)
ผลกระทบต่อทารก
ความผิดปกติ/พิการของอวัยวะต่างๆ
ปฏิกิริยาที่ไวต่อสิ่งกระตุ้น
สมองทารกมีพัฒนาการที่ผิดปกติ
การประเมินอาการขาดยา
ทารกร้องเสียงแหลม ถ้ามากกว่า15วินาทีอาจมีอาการรุนแรง
การนอนหลับของทารกมากกว่าปกติ
ไม่มีปฏิกิริยาตอบสนอง
การดูด การกลืน ของทารกลดลง
IUGR , LBW
การพยาบาลทารก
ที่มีอาการขาดยา
หากมารดาติดประเภทฝิ่น&อนุพันธ์ของฝิ่น
ให้ Methadone 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
ให้ Paregoric 0.1-0.5 mg/kg ทุก4ชม.
ให้ Phenobarbital 2-4 mg/kg ทุก8ชม.
ให้ Diazepam 1-2 mg วันละ 2 ครั้ง
ทารกน้ำหนักตัวผิดปกติ
ความหมาย
ทารกคลอดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม เจริญเติบโตในครรภ์ช้า ทารกตัวเล็กและมีภาวะแคระ
ลักษณะทารก LBW
ศีรษะไม่ได้สัดส่วนตามร่างกาย แขน ขา ลีบ
ผิวหนังแดงเหี่ยว ไม่ค่อยร้อง กล้ามเนื้อหายใจอ่อนแอ เนื้อเยื่อปอดไม่ดี ระบบประสาทและระบบย่อยอาหาร
ยังเจริญไม่เต็มที่
ภาวะแทรกซ้อน
IUGR , เลือดออกในสมอง(มักเกิดใน4ชม.แรก) , ตัวเหลือง , ติดเชื้อ , ซีด และโรคลำไส้เน่าเปื่อย
การพยาบาลทารกหาก
มีน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภายใน 24 ชม.แรกหลังคลอด
จะน้อยกว่า 50 mg/dl
มากกว่า 24 ชม.หลังคลอด
จะน้อยกว่า 40 mg/dl ควรให้ glucose ทางเส้นเลือดที่มีความเข้มข้น 10%
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ
ชนิดของการติดเชื้อ
Early onset sepsis
ทารกเริ่มมีอาการภายใน 4 วันแรกหลัง
คลอด อาจได้รับเชื้อจากมารดาคือ group B streptococcus & E.coli
Late onset sepsis
ทารกเริ่มมีอาการ 4 วันหลังคลอด อาจได้รับเชื้อจากมารดาคือ Staphylococus coagulase negative
ปัจจัยเสี่ยง
มารดา
GA < 37 wks , มีน้ำเดินก่อนคลอด > 18 ชม. , ตั้งครรภ์หลายครั้ง และมีประวัติการแท้งบุตร
ทารก
มี Fetal distress
ระยะที่2ของการคลอด ,
LBW , GA < 37 wks
สาเหตุของการติดเชื้อ
หูดหงอนไก่
ติดเชื้อทางเชื้อคลอด
ไปยังโพรงมดลูก
ไวรัส zika
มียุงลายเป็นพาหะ มักติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการให้เลือด
เริม
ติดเชื้อทั้ง 3 ระยะ มักติดจาก
ช่องคลอดของมารดา
หนองใน
มักติดเชื้อตาที่มากที่สุด อาจทำให้ตาบอดได้
ซิฟิลิส
ติดเชื้อผ่านทางรก มีผื่นตามฝ่ามือ ฝ่าเท้า
ไวรัสตับอักเสบบี
ติดเชื้อทางรก การสัมผัสสิ่งคัดหลั่ง น้ำนมที่ถลอก
เอดส์
ติดเชื้อที่พบบ่อยที่สุด จากแม่สู่ลูก
ถ้าลูกติเชื้อเอดส์จะไม่ได้รับวัคซีน BCG
Birth asphyxia
ความหมาย
ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซ
มีO2ในเลือดต่ำ มีการคั่งของ CO2
และมีสภาพเป็นกรดในกระแสเลือด
ภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กลไกการเกิด
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่
มีการนำ O2 หรือสารอาหารจากแม่สู่ลูกไม่เพียงพอ
ไม่มีการแลกเปลี่ยน O2 ที่รก
ระบบไหลเวียนเลือดทางสายสะดือขัดข้อง/ลดลง
พยาธิสภาพ
มีปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือดสูง PaCO2 > 80 mmHg , PaO2 < 40 mmHg , pH < 7.1เลือดไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆไม่เพียงพอ ทารกหายใจแบบขาดอากาศ หายใจไม่สม่ำเสมอและมีหัวใจเต้นช้าลง
ได้รับการแก้ไขจนเป็นปกติ
ไม่ได้รับการแก้ไขจะเสียชีวิต
อาการและ
อาการแสดง
ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก หัวใจเต้นช้าลง
ทารกซึม หยุดหายใจบ่อย ความดันต่ำ ผิวซีด ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ มี APGAR Score น้อยกว่า 7 คะแนน
เคลื่อนไหวมากกว่าหรือน้อยกว่าปกติ
การจำแนกตาม
ความรุนแรง
moderate asphyxia
ให้ 3-4 คะแนน
ให้ออกซิเจน 100% ร่วมกับ mask with bag ถ้าดีขึ้นให้ใส่ feeding tube เข้ากระเพาะอาหารเพื่อดูดลมออก
severe asphyxia
ให้ 1-2 คะแนน
ให้ช่วยหายใจทันที โดยให้ออกซิเจน 100% ร่วมกับใส่ ET-tube
mild asphyxia
ให้ 5-7 คะแนน
ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง และกระตุ้นการหายใจ
APGAR Score
3.สีผิวของทารก
4.การหายใจของทารก
2.ปฏิกิริยาตอบสนอง (ไอ+จาม)
5.การเคลื่อนไหวแขนขาของทารก
1.อัตราการเต้นของหัวใจ
การพยาบาล
ประสานกุมารแพทย์
ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง และกระตุ้นให้ทารกร้อง
ให้เตรียมทีมพยาบาล2คนขึ้นไป
เพื่อช่วยเหลือทารก
ผลการตรวจทาง
ห้องปฏิบัติการ
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
ค่าของ ca ในเลือด < 8 mg%
PaCO2 > 80 mmHg , PaO2 < 40 mmHg , pH < 7.1
ค่าของ K ในเลือดสูง
นางสาวสุทัตตา สังข์แก้ว
601001127