Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง :pencil2: …
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง :pencil2:
ความเป็นมา
บทละครเรื่องอิเหนามีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ได้เค้าโครงเรื่องมาจากนิยายของชวาจึงเรียกกันว่านิยายบันหยี
นิยายบันหยี มีเนื้อความว่า พระโอรสแห่งกรุงกุเรปันหมั้นกับธิดาท้าวดาหา แต่ไปหลงรักหญิงอื่นจนเกิดเรื่องยุ่งยาก ต้องปลอมพระองค์เร่ร่อนเที่ยงตีเมืองน้อยใหญ่ไปทั่วแดนชวา ทำให้อาณาจักรแผ่ขยายกว้างขวาง ในที่สุดตัวละครสำคัญก็ได้พบกันและกลับคืนบ้านเมืองอย่างเป็นสุข
ตัวละครหลัก
อิเหนา
เป็นโอรสของท้าวกุเรปันกับประไหมสุหรีนิหลาอระตา มีลักษณะเจ้าชู้ แต่มีความเป็นชายชาติทหารอย่างนักรบ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว
ท้าวกุเรปัน
เป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ มีพระอนุชา 3 พระองค์ ได้แก่ เมืองดาหา กาหลัง สิงหัดส่าหรี นิสัยเป็นคนถือยศศักดิ์ รักเกียรติและวงศ์ตระกูล
-
นางบุษบา
นางบุษบาเป็นคนที่อยู่ในโอวาทของพ่อแม่ แม้จะไม่พอใจในรูปร่างของจรกา แต่ก็ไม่ปฏิเสธเมื่อพ่อแม่ยกนางบุษบาให้จรกา บุษบาเป็นคนไม่เจ้ายศเจ้าอย่าง แม้ตนเองจะสูงศักดิ์
-
วิหยาสะกำ
เป็นคนเอาแต่ใจ ยึดตัวเองเป็นที่ตั้ง ใจเด็ด แต่ด้วยความที่อายุยังน้อย เลยใจร้อน ทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร
-
คุณค่า
-
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
การใช้ภาพพจน์แบบต่างๆ
-
ภาพพจน์อุปลักษณ์
" หวังเป็นเกือกทองรองบาทา พระผู้วงศ์เทวาอันปรากฏ และกูก็ไม่ครั่นคร้ามขามใคร จะหักให้เป็นภัสม์ธุลีลง :crossed_swords: "
-
คุณค่าด้านสังคม
ประเพณีและความเชื่อ
แม้บทละครเรื่องอิเหนาจะมีที่มาจากชวา แต่รัชกาลที่ 2 ทรงดัดแปลงแก้ไขให้เข้ากับธรรมเนียมประเพณีของบ้านเมืองของไทย เราจึงสามารถหาความรู้เรื่องเหล่านี้จากวรรณคดีเรื่องอิเหนาได้อย่างถูกต้อง ซึ่งปรากฏอยู่หลายตอน เช่น ตอนท้าวดาหาเสด็จออกรับทูตเมืองกะหมังกุหนิง
ความเชื่อเรื่องโชคชะตา
-
พิธีเบิกโขลนทวาร ซึ่งทำพิธีตามตำราพราหมณ์ โดยทำเป็นประตูสะด้วยใบไม้ สองข้างประตูมีพราหมณ์นั่งประพรมน้ำมนต์ให้ทหารที่เดินลอดประตู ทั้ง 2 พิธีนี้ทำเพื่อความเป็นสิริมงคล และสร้างขวัญกำลังใจให้ทหาร
-
-
-
-
-
-