Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Major pelvic disruption with hemorrhage
Pelvic fracture
Hypovolemic shock
Unstable pelvic fracture
Bladder และ Urethra
การตรวจร่างกาย
ดู
Scrotum และ Perineum บวม
Perineum ฉีกขาด
คลำ
Pelvic แตก
PR examination
High-riding prostate gland
Urethral meatus มีเลือดออก
การเคลื่อนไหว
ข้างที่ผิดปกตจิะสั้น
กล้ามเนื้อดึงขึ้นข้างบน
หมุนออกด้านนอก
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
X-ray
Film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
Stabilization pelvic ring
External counter pressure
Fluid resuscitation
Fracture with major arterial hemorrhage
Blunt trauma หรือ Penetrating wound
หลอดเลือดฉีกขาด
Hypovolemic shock
Hard signs
การบาดเจ็บหลอดเลือดแดง
Pulsatile bleeding
บริเวณแผล
6Ps
Pulselessness
Paralysis
Paresthesia
Poikilothermia
Pallor
Pain
ฟังได้ bruit
คลำได้ thrill
Hematoma มีขนาดใหญ่
หลังการรักษา Shock
ประเมินชีพจรซ้ำข้างผิดปกติ
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Direct pressure
หยุดเลือด
Fluid resuscitation
จัดกระดูกให้เข้าที่
เมื่อกระดูกผิดรูป
Splint
ตรวจหาความผิดปกติของหลอดเลือด
Doppler ultrasound
Crush syndrome
กล้ามเนื้อบาดเจ็บอย่างรุนแรง
เซลล์กล้ามเนื้อขาดเลือด
Myoglobin
Rhabdomyolysis
Creatinin kinase สูง
Renal failure
Disseminated intravascular coagulopathy (DIC)
Dark urine
Hemoglobin ได้ผลบวก
Rhabdomyolysis
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Fluid resuscitation
Osmotic diuretic
รักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
Sodium bicarbonate
ลด Myoglobin
Tubular system ลดลง
ประเมิน Urine output
100 cc./hr
clear myoglobinuria
จนกว่าปัสสาวะใส
การบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Pelvic fracture และ Open fracture
Hypovolemic shock
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม
ปวดมาก
Compartment syndrome
เกิดความพิการได้
Multiple long bone fracture
Pulmonary embolism
Primary survey และ Resuscitation
เสียเลือดจากการบาดเจ็บ
Hypovolemic
Hemorrhage shock
Control bleeding
Direct pressure
Sterile pressure dressing
Immobilization
จัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
ลดการขยับเลือน
Splint
ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก
Secondary survey
การประเมินผู้ป่วย
การซักประวัติ จากผู้ป่วยและผู้นำส่ง
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
สถานที่เกิดเหตุ
การรักษาเบื้องต้น
การตรวจร่างกาย
อาการปวดและกดเจ็บ
บวมผิดรูป
คลำพบเสียงกระดูกขัดสีกัน กันเมื่อขยับ
มองเห็นกระดูกผิดรูป
ไม่สามารถเคลื่อนไหวเเขนได้
การตรวจผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมี 3 ขึ้นตอน
1.Life threatening และ Resuscitation
Screening test
เวลาสั้นๆ
เมื่อพบผู้ป่วยตอนแรก
ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดี
กระดูกแขนขา
ยกแขนขาทั้งสองข้าง
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
ผู้ป่วยนอนหงาย
กดบริเวณ Sternum
บีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
กระดูกซี่โครง
กดบรเิวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้าง
กดแนว Anterior-posterior แล้วบบีด้านข้างเข้าหากัน
กดบริเวณ Pubic symphysis
กระดูกสันหลัง
ผู้ป่วยนอนหงาย
นอนยกคอ
หันศีรษะอย่างระมัดระวัง
พลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง
ใช้มือคลำตามแนวกระดูกสันหลัง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
สันนิษฐาน
กระดูกสันหลังบาดเจ็บเสมอ
การตรวจอย่างละเอียด
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
เสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
การเอกซเรย์
Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลมุกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Recognition
การตรวจประเมินกระดูกหัก
ข้อเคลื่อน
Reduction
การจัดกระดูกให้เข้าที่
ให้ใกล้เคียงภาวะปกติ
Retention
การประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่
Rehabilitation
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ฟื้นฟูดูแลจิตใจ
Reconstruction
แก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสีย
ให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Refer
การส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม