Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury), นายชีวิน บุญรักษ์ เลขที่81 ปี3 ห้องก -…
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
1.การบาดเจ็บของ Soft tissue
Bruising and petechiae
ลักษณะผิวหนังบวมช้าและมีจุดเลือดออก
Subcutaneous of necrosis
เกิดจากการขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมัน
พบบ่อยคือไหล่และก้น
บาดแผลฉีกขาด
บาดเจ็บจากการผ่าท้องคลอด
พบบ่อยคือ บริเวณส่วนนำ
2.การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Caput succedaneum
ส่วนที่บวมอาจข้าม suture lines ได้
คลำขอบได้ไม่ชัดเจน
Cephalhematoma
คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน
อยู่บนกระดูกชิ้นเดียวไม่ข้าม suture lines
Subgalealhemorrhage
มีเลือดออกคั่งอยู่ใน subgalealspace
intracranial hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
subdural hemorrhage
epidural hemorrhage
intraventricularhemorrhage
กะโหลกศีรษะแตก
พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด
3.การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกไหปลาร้าหัก
สัมพันธ์กับการคลอดยาก
อาจให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขน
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดติดไหล่
ทารกมีขนาดใหญ่
การคลอดท่าก้น
การผ่าตัดในรายที่ทารกไม่ได้มีศีรษะเป็นส่วนนำ
ทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์
กระดูกต้นขาหัก
คลอดท่าก้นทางช่องคลอด
การหักของกระดูกอื่นๆ
กระดูกจมูก
กระดูกขากรรไกร
กระดูกใบหน้า
septalcartilage
อาจทำให้ทารกหายใจลำบากและมีปัญหาการดูดนม
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อยู่ในครรภ์
จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid
คลอดท่าก้น
เกิดเป็นก้อนเลือดในกล้ามเนื้อ
เกิดภาวะคอเอียง (torticollis)
4.การบาดเจ็บของระบบประสาท
การบาดเจ็บของ Brachial plexus
Erb/Duchenneparalysis
เกิดการบาดเจ็บของC5 C6 และอาจบาดเจ็บC7 ร่วมด้วย
Klumpkeparalysis
การบาดเจ็บ C8 และ T1 อาจทำให้มือข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
Total brachial plexus paralysis
ทำให้ทั้งมือและแขนของทารกมีอาการอ่อนแรง
การบาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง
เกิดจากดึงรั้งบริเวณลำคอขณะช่วยคลอดไหล่หรือจากการบิด
การบาดเจ็บของเส้นประสาทของใบหน้า
เส้นประสาทคู่ที่ 7ถูกกด อาจเกิดร่วมกับการคลอดใช้คีม
การบาดเจ็บของ Phrenic nerve
มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของ brachial plexus
การบาดเจ็บของ Laryngeal nerve
อาจทำให้เกิด paralysis ของเส้นเสียง
วินิจฉัยโดยการทำ direct laryngoscopy
5.การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดท่าก้นทางช่องคลอด
ทารกที่มีขนาดใหญ่
พบบ่อยที่สุด คือ ตับแตก
6.การบาดเจ็บของบริเวณใบหน้า
การบาดเจ็บของจมูก
จมูกของทารกถูกกดอยู่กับกระดูก symphysispubis หรือ promontory of sacrum
การบาดเจ็บบริเวณดวงตา
หนังตาบวม retinalhemorrhage
subconjunctivalhemorrhage
การบาดเจ็บอื่นๆ
พบได้น้อย แต่สัมพันธ์กับการใช้คีมช่วยคลอด
hyphema การแตกของกระดูกรอบดวงตา
การบาดเจ็บของ lacrimal duct
การบาดเจ็บของ lacrimal gland
นายชีวิน บุญรักษ์ เลขที่81 ปี3 ห้องก