Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth injury - Coggle Diagram
Birth injury
ความหมาย
ทารกที่ได้รับอันตรายจากกระบวนการคลอด ส่งผลให้มีการบกพร่องของการทํางาน/ความผิดปกติทางโครงสร้างของร่างกาย
บาดเจ็บได้หลายตําแหน่ง
ความรุนแรงเล็กน้อยสามารถหายได้เองและรุนแรงถึงขั้นเสียงชีวิต
ปัจจัยเสี่ยง
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ทําสูติศาสตร์หัตถการ
ภาวะอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
ปัจจัยอื่นๆทางด้านมารดา
ทารกมีขนาดใหญ
แบ่งเป็น 6 ประเภท
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดติดไหล่
ทารกมีขนาดใหญ่
คลอดท่าก้น
กระดูกไหปลาร้าหัก
สัมพันธ์กับการคลอดยาก
ีพยากรณ์โรคดี หายได้เองไม่มีผลระยะยาว
NC.ให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขน
กระดูกต้นขาหัก
พบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
เคลื่อนหลุดของข้อต่อ
เกิดจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
บาดเจ็บของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid
ฉีกขาดของกล้ามเนื้อหรือเยื่อหุ้มของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid เกิดเป็นก้อนเลือดใน กล้ามเนื้อ
ทารกโตขึ้นกล้ามเนื้อด้านที่มีการบาดเจ็บไม่สามารถยืดขยายได้เท่ากับ ข้างปกติ ทําให้เกิด
ภาวะคอเอียง (torticollis)
บาดเจ็บของ Brachial plexus
แบ่งเป็น 3 ชนิด
Erb หรือ Duchenne paralysis คือบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ระดับ C5 C6
Total brachial plexus paralysis บาดเจ็บของเส้นประสาท ที่
brachial plexus ทั้งหมด
ทําให้มือและแขนของทารกมีอาการอ่อนแรง
Klumpke paralysis บาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
ระดับ C8 และ T1
อาจทําให้มือทารกข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
การบาดเจ็บของระบบประสาท
บาดเจ็บของเส้นประสาทไขสันหลัง
เกิดจากการถูกดึงรั้งของบริเวณลําคอขณะช่วยคลอดไหล่หรืออาจเกิดจาก การบิด
บาดเจ็บของเส้นประสาทของใบหน้า
เกิดจากเส้นประสาทคู่ที่ 7 (facial nerve) ถูกกด
เกิดร่วมกับการคลอดโดยใช้คีมมักเป็นการบาดเจ็บของเส้นประสาท mandibular branchําให้ทารกเคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่มีการ บาดเจ็บ หนังตาปิดไม่สนิท
บาดเจ็บของ Phrenic nerve
เกิดร่วมกับการบาดเจ็บของ brachial plexus ทารกจะมีอาการหายใจ ลําบาก เสียงหายใจลดลง
บาดเจ็บของ Laryngeal nerve
ทําให้
เกิด paralysis ของเส้นเสียง
ทารกหายใจลําบาก เสียงแหบ ร้องเบา ไม่มีเสียงร้อง กลืนลําบากและสําลัก
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Cephalhematoma
ฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น periostreum มีเลือดออกใต้ต่อ periostreum
ขอบเขตชัดเจน ไม่ข้าม suture lines
อาจทําให้เกิดภาวะซีดหรือตัวเหลือง
Caput succedaneum
บวมของบริเวณศีรษะเหนือ periostreum
ข้าม suture lines คลําขอบได้ไม่ชัดเจน
พบแรกคลอด ขนาดเล็กลงหายเองภายใน เวลาเป็นชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
Subgaleal hemorrhage
เกิดจากฉีกขาดของเส้นเลือด
เลือดออกคั่งอยู่ใน subgaleal space ระหว่าง periostreum ของกะโหลกศีรษะกับ aponeurosis
Intracranial hemorrhage
เกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดใน สมองส่วน subepenndymal germinal matrix
Epidural hemorrhage
Subdural hemorrhage
Subarachnoid hemorrhage
Intraventricular hemorrhage
กะโหลกศีรษะแตก
พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด
แตกในแนวเส้นตรง พบร่วมกับ Cephalhematoma
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
พบไม่บ่อย
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดท่าก้นทางช่องคลอด
ทารกที่มีขนาดใหญ่
พบบ่อยที่สุด คือ ตับแตก
การบาดเจ็บของ Soft tissue
Subcutaneous of necrosis
ขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมันบริเวณ
ก้น
ไหล่
Bruising and petechiae
ผิวหนังบวมช้ำและมีจุดเลือดออก
บาดแผลฉีกขาด
จากการผ่าท้องคลอด เช่น บริเวณส่วนนำในรายผ่าคลอดฉุกเฉิน
การบาดเจ็บของบริเวณใบหน้า
บาดเจ็บของจมูก
เกิดจากจมูกถูกกดอยู่กับกระดูก symphysis pubis หรือ promontory of sacrum
อาจทําให้ทารกหายใจ ลําบาก
บาดเจ็บบริเวณดวงตา
หนังตาบวม หายในเวลา 1-5 วัน
subconjunctival hemorrhage หายในเวลา 1-2 สัปดาห์