Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด Birth Injuly, 1 caput, 1 cepha, 1 subgalral, จัดทำโดย…
การบาดเจ็บจากการคลอด Birth Injuly
ชนิดของการบาดเจ็บ
กระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยง
คลอดติดไหล่
ทารกมีขนาดใหญ่
การคลอดท่าก้น
ทารกมีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์
การผ่าตัด(ทารกไม่ได้มีศรีษะเป็นส่วนนำ)
Moro refex ลดลง
กระดูกต้นหาหัก
มักพบในรายคลอดท่าก้นทางช่องคลอด
กระดูกไหปราร้าหัก
พบบ่อยสุด สัมพันธ์กับการคลอดยาก
ให้ยาแก้ปวดและลดการเคลื่อนไหวของแขน
หายได้เอง ไม่มีผลในระยะยาว
ให้คำปรึกษาเพื่อลดความวิตกกังวลของพ่อแม่
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ
จากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ จากภาวะน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastoid
ขณะทำคลอดท่าก้น
เกิดเป็นก้อนเลือดในกล้ามเนื้อ
ข้างที่มีการบาดเจ็บ ไม่สามารถยืดขยายได้เท่ากับข้างปกติ
เกิดภาวะคอเอียง (Torticollis)
เอียงไปข้างที่เจ็บ
การหักของกระดูกอื่นๆ
กระดูกจมูก
กระดูกขากรรไกร
กระดูกใบหน้า
Septal cartilage
ทารกหายใจลำบากและมีปัญหาการดูดนม
ระบบประสาท
การบาดเจ็บของ Brachial plexus
Duchenne paralysis
กระดูกสันหลัง C5-C6
แขนเหยียดตรง หมุนเข้าด้านใน
ศอกเหยียดออก ข้อมือและนิ้วมืองอ
Erb
Klumpk paralysis
กระดูกสันหลัง C8-T1
มือข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
Total brachial plexus paralysis
มือและแขนมีอาการอ่อนแรง
Neonatal Brachial Plexus Injuly
NBPI
หายไปใน 12 เดือนหลังคลอด
brachial plexus บาดเจ็บทั้งหมด
ปัจจัยสำคัญ
คลอดท่าก้น
ทารกมีน้ำหนักตัวมาก
เส้นประสาทไขสันหลัง
เกิดจาการถูกดึงรั้งบริเวณลำคอ
เส้นประสาทใบหน้า
facial nerve (คู่ 7) ถูกกด
หนังตาปิดไม่สนิท
ใช้ใบหน้าส่วนล่างไม่ได้
หายได้เอง2-3 วัน จนถึง 2 wk.
เคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวกับที่เจ็บ
Phrenial plexus
เป็นเส้นประสาทที่ใช้เลี้ยงกระบังลม
หายใจลำบาก เสียงหายใจลดลง
พบตั้งแต่แรกคลอด
Laryngeal nerve
เส้นประสาทไปเลี้ยงกล่องเสียง
หายใจลำบาก เสียงแหบ ไม่มีเสียงร้อง กลืนลำบาก สำลัก
หายได้เอง
วินิจฉัยโดย direct laryngoscopy
ศรีษะ
Caput succedaneum
คลำขอบได้ไม่ชัดเจน
ตรวจพบตั้งแต่แรกคลอด
บวมข้าม suture line
หายเองได้ ใข้เวลาเป็นชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
การบวมเหนือ periostreum
cepalhematoma
เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น periostreum
มีเลือดออกใต้ต่อ periostreum
พบบ่อยที่กระดูก parietal และ occipital
คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน
ไม่ข้าม uture line
อาจทำให้ซีดหรือตัวเหลืองได้
หายได้แต่ใช้ระยะเวลาเป็นเดือน
Subgaleal hematoma
เกิดจากการฉีกขาดของเส้นเลือด
ทารกมักเสียเลือดมาก
ควรใช้สูติหัตการให้น้อยลง
มีเลือดคั่งใน Subgaleal space
Intracrania hematoma
เกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดส่วน subepenndymal germinal matrix
Subarachnoid hemorrhage
ส่วนหญ่พบในทารกที่มีการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
subdural hemorrhage
มีอาการทางประสาท
ซึม
ความตึงตัวกล้ามเนื้อต่ำ
ม่านตาไม่ตอบสนอง
พบ 24- 48 ชั่วโมงหลังคลอด
epidural hemorrhage
มักพบร่วมกับกะโหลกแตก
อาจพบ IICP
intraventricular hemorrhage
มักเกิดใน preterm < 32 wk.
พบหลัง 72 hr. หลังคลอด (3วัน)
รุนแรงสุด
กะโหลกศรีษะแตก
มักแตกเป็นแนวเส้นตรง
พบร่วมกับ Cephahematoma
พบในทารกที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด
อวัยวะภายในช่องท้อง
พบมากสุดคือ ตับแตก
ปัจจัยเสี่ยง
ทารกที่มีขนาดใหญ่
คลอดท่าก้นทางช่องคลอด
ปกติพบไม่บ่อย
Soft tissu
ฺBruising and peteciae
ผิวหนังบวมช้ำ
มีจุดเลือดออก
พบมากที่ส่วนนำ
อวัยวะเพศ
ใบหน้า
บาดแผลฉีกขาด
พบบ่อยสุดในการผ่าท้องคลอด
พบบ่อยบริเวณส่วนนำ
ส่วนใหญ่เกิดในรายที่ต้องผ่าคลอดฉุกเฉิน
subcutaneous of necrosis
พบหลังคลอด 6-10วัน
พบบ่อยคือไหล่และก้น
เกิดจากการขาดเลือด บริเวณเนื้อเยื่อไขมัน
หายได้เอง
บริเวณใบหน้า
ดวงตา
หนังตาบวม
retinal hemorrhage
หายใน 1-5 วัน
Subconjunctival hemorrhage
หายใน 1-2 วัน
อื่นๆ
สัมพันธ์กับการใช้คีมช่วยคลอด
การแตกของกระดูกรอบดวงตา
lacrimal duct
lacrimal gland
จมูก :
เกิดจากการถูกกดอยู่กับกระดูก
symphysis pubis
promontory of sacrum
ทำให้ทารกหายใจลำบาก
คือ การที่ทารกได้รับอันตรายจากกระบวนการคลอด ส่งผลให้มีการบกพร่องของการทำงานหรือความผิดปกติทางโครงสร้างร่างกายทารกแรกเกิด
ปัจจัยเสี่ยง
ทารกอยู่ในท่าที่ผิดปกติ (โดยเฉพาะท่าก้น)
ใช้สูติหัตถการเพื่อช่วยคลอด
การผ่าตัดคบอด
ภาวะอ้วนของหญิงตั้งครรภ์
ทารกมีขนาดใหญ่
ปัจจัยอื่นๆด้านมารดา
จัดทำโดย นางสาวรุ่งลาวัลย์ เปรมทา
นักศึกษาพยาบาลชั้นปี 3 เลขที่ 55 ก