Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนโลหิต 6009236 - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
วงจรไหลเวียนทั่วกาย
วงจรนี้ทำงานกว้างขวาง เรียกว่า วงจรใหญ่ (greater circlation)
เลือดที่ไหลเวียน ออกจาก LV ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกายแล้วกลับมาเข้า RA
วงจรไหลเวียนผ่านปอด
เลือดที่ส่งมาเข้า RA จะเทลงสู่ RV แล้วส่งไปยังปอด หลังจากนั้นจะกลับมาเข้า LA ใหม่
การไหลเวียน วงจรนี้ทำงานน้อยกว่า เรียกว่า วงจร (Iesser circulation)
การไหลเวียนโลหิต
หัวใจ พร้อมทั้งการทำงานโดยละเอียด
หลอดเลือด มีเลือดบรรจุอยู่พร้อมทั้งกลไก การทำงาน
หน้าที่ของระบบไหลเวียนโลหิต
รักษาความสมดุลของกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมสภาพสมดุลของของเหลวภายในร่างกาย
ขนส่งอาหารและออกซิเจนไปให้เซลล์
ช่วยลำเลียงฮอร์โมนและเอ็นไซม์ไปให้เซลล์
ป้องกันเชื้อโรคและสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
กลุ่มที่ไม่มีอาการเขียว (Acyanotic)
Coarctation of aorta
การมีส่วนหนึ่งของ Aorta ตีบแคบ
Pulmonary Stenosis
ลิ้นหัวใจ pulmonic ตีบแคบ
Atrial Septal Defect (ASD)
defect ที่ผนังกั้นแยกระหว่าง atrium ซ้ายและขวา
Ventricular Septal Defect (VSD)
defect ที่ผนังกั้นแยกระหว่าง ventricle ซ้ายและขวา
Patent Ductus Arteriosus (PDA)
โรคหลอดเลือดหัวใจเกินผิดปกติระหว่างปอดและหัวใจ
สาเหตุ
ภาวะขาดออกซิเจนขณะคลอด
การติดหัดเยอรมันในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
ภาวะคลอดก่อนกำหนด
Aortic Stenosis
ลิ้นหัวใจ Aortioc ตีบแคบ
กลุ่มที่มีอาการเขียว (Cyanotic)
Transposition of the great arteries (TGA)
ความผิดปกติที่ aorta ออกจาก ventricle ขวา และ pulmonary artery ออกจาก ventricle ซ้าย
Pulmonary atresia
การที่ Pulmonary valve ตันหรือตีบมากจนเลือดผ่านไม่ได้
Tetralogy of fallot (TOF)
pulmonic stenosis
hypertrophy ของ right ventricle
interventricular septal defect
transposition ของ aorta
Tricuspid atresia
ทำให้เลือดจาก RA ต้องผ่าน ASD แล้วเข้าปอดทาง PDA หรือ VSD
Rheumatic Heart Disease
สาเหตุ
ร่างกายสร้างภูมิต้านทานขึ้นมาทำลายเชื้อ
ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อผิดปกติ
ที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ Beta-hemolytic Streptococcus Group A
ผลที่ตามมา RHD
ทำให้ลิ้นหัวใจแข็ง เปิดไม่เต็มที่
มีการตีบและรั่วในขณะเดียว
โรคของลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ
ลิ้นหัวใจรั่ว
Tricuspid regurgitation
Aortic regurgitation
เลือดที่ย้อนกลับมาใน left ventricle จะทให้เกิด endocardial fibrosis ได้
Mitral regurgitation
มีผลต่อหัวใจด้านขวาแบบเดียวกับ mitral stenosis
เกิดขึ้นภายหลังมีหัวใจวายด้านซ้าย
Pulomonic regurgitation
ลิ้นไมตรัลตีบ (Mitral stenosis)
ส่วนใหญ่เกิดจากการอักเสบเรื้อรังในห้องหัวใจภายหลังการติดเชื้อ Group A Streptococcal pharyngitis
Acute rheumatic fever สามารถทำให้หัวใจอับเสบได้ทุกชั้น
ผลที่เกิดขึ้น
ถ้ามี right heart failure เกิดขึ้นจะมีการขยายตัวของ right atrium
ผนัง right ventricle หนาจากการที่มีความดันเลือดปอดสูง
ปอดมีเลือดคั่ง และความดันไปปอดสูง
left atrium ขยายตัวและผนังหนาขึ้น
ลิ้นไตรคัสปิดตีบ(Tricuspid stenosis)
ลิ้นเอออร์ติคตีบ(Aortic stenosis)
เป็นภาวะที่พบบ่อย โดยมากเกิดจากกระบวนการสะสมของแคลเซียมและเซลล์อักเสบที่ลิ้นหัวใจ
ผลที่เกิดขึ้น
left ventricle มีผนังหนา
aorta มีขนาดเล็ก
อาจมี coronary insufficlcency
ลิ้นพูลโมนิคตีบ(Pulomonic stenosis)
โรคที่เกิดจากลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจเสื่อม
เสื่อมสภาพตามอายุ พบในวัย 40 ปีขึ้นไป
ลิ้นหัวใจผิดรูป เกิดการเปิด-ปิด ไม่สนิท เกิดอาการโรคหัวใจรั่ว
เส้นเลือดเลี้ยงหัวใจตีบ
เกิดการตายของกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
ลิ้นหัวใจรูมาติก
ติดเชื้อในลำคอ ผิวหนัง
การสร้างภูมิต้านทาน โดยส่งผลให้มีการทำลายเนื้อเยื่อ
มีพังพืดและหินปูนเกาะ
ทำให้ลิ้นหัวใจเปิด - ปิด ไม่ดีเหมือนปกติ
หัวใจทำงานหนักมากขึ้น
โรคหลอดเลือดหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอต่อความต้องการ
รับออกซิเจนไม่เท่ากับออกซิเจนที่ใช้
STEMI
การปวด(Angina Pectoris)
คงที่
เส้นเลือดมีการตีบตันทั่วไปอย่างคงที่
ทำงานเร็วหัวใจเร็วขึ้น แต่เลือดไม่เพียงพอ
ไม่คงที่
เส้นเลือดมีการตีบตันแต่ไม่คงที่ เกิดชั่วขณะ
มีอาการเจ็บหน้าอกปานกลางถึงรุนแรง
เกิดรอยแตกที่คราบไขมัน ผอกผนังหลอดเลือด
Endocarditis
Infective Endocarditis
Subacute Bacterial Endocarditis
มักเกิดกับผู้ที่มีความผิดปกติลิ้นหัวใจหรือลิ้นหัวใจพิการแต่กำเนิด
เชื้อพบบ่อย Staph. viridans
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรงน้อย
Acute bacterial Endocarditis
เกิดจากแบคทีเรียชนิดรุนแรง
มักเกิดกับหัวใจปกติ
เชื้อพบบ่อย Staph. aureus
Non-infective Endocarditis
ไม่พบเชื้อใน vegetation
โรคของหลอดเลือดแดง
หลอดเลือดแดงอักเสบ
Buerger's disease : TAO
มักเกิดกับหลอดเลือดแดงขนาดกลางของแขนและขา
มักพบในชายที่สูบบุหรี่
ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
อาการที่พบ ปวดตำแหน่งอวัยวะขาดเลือด เป็นแผลเรื้อรัง
หลอดเลือดโป่งพอง
Aneurysm
สาเหตุ
การโป่งพองหลอดเลือดเฉพาะที่
T:ทุกขั้นของหลอดเลือด
F:เฉพาะบางชั้น
ความแข็งแรงของหลอดเลือดลดลง
ชนิดของหลอดเลือด
Saccular aneurysm
Dissecting aneurysm
Fusiform aneurysm
Abdominal Aortic Aneurysm (AAA)
ปัจจัย
สูบบุหรี่ มีญาติสายตรงเป็น
อาการแสดง
คลำชีพจรได้ในท้อง คลำได้ก้อนในท้อง
โรคเลือดแดงแข็ง
Monckeberg medial calcific sclerosis
Atherosclerosis
โรคของหลอดเลือดดำ
Thrombophlebitis
การอับเสบทั่วๆไป
มี thrombosis เกิดร่วมด้วย
Phlebothrombosis
มี thrombosis เกิดร่วมด้วยโดยไม่มีการอักเสบ
Varicose vein
หลอดเลือดดำขอดที่ทวารหนัก เรียกว่า ริดสีดวงทวาร (hemorrhoid)
หลอดเลือดดำคด เนื่องจากความดันในเลือดเพิ่มขึ้น
หลอดเลือดหัวใจ
coronary artery
แบ่ง 2 เส้น
เส้้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านขวา
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายล่าง
เส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจด้านซ้ายที่เหลือทั้งหมด
Left anterior descending artery (แขนงเลี้ยงด้านหน้า)
Lerft Circumflex artery (ด้านหลัง)