Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury) - Coggle Diagram
บาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Subgaleal hemorrhage
มีเลือดคั่งอยู่ใน subgaleal space ระหว่าง periostreum ของกะโหลกศีรษะ จากการฉีกขาดของเส้นเลือด
เลือดออกในสมอง (Intracranial hemorrhage)
Subarachnoid hemorrhage
Subdural hemorrhage
epidural hemorrhage
intraventricular hemorrhage
Cephalhematoma
ฉีกขาดของเส้นเลือดใต้ชั้น periostreum คลำได้เป็นก้อน ขอบเขตชัดเจน ไม่ข้าม suture lines ทำให้เสียเลือดเล็กน้อย อาจหายเป็นในสัปดาห์หรือนานเป็นเดือน
Caput succedaneum
บวมเหนือ periostreum อาจข้าม suture lines บวมคลำขอบได้ไม่ชัดเจน มักมีขนาดเล็กลงและหายไปเองภายใน เวลาเป็นชั่วโมงหรือ 2-3 วัน
กะโหลกศีรษะแตก
ใช้เครื่องมือช่วยคลอด มักแตกแนวเส้นตรง
การบาดเจ็บของ Soft tissue
บาดแผลฉีกขาด พบบ่อยสุดในการผ่าท้องคลอด
Subcutaneous of necrosis เกิดจากการขาดเลือดของเนื้อเยื่อไขมัน ที่พบบ่อยคือไหล่และก้น
Bruising and pethechiae ลักษณะผิวหนังบวมช้ำและมีจุดเลือดออก
การบาดเจ็บของระบบประสาท
Laryngeal nerve
อาจเกิด paralysis ของเส้นเสียง ทารกหายใจลำบาก เสียงแหบ กลืนลำบากและสำลัก หายได้เอง
Brachial plexus
Erb หรือ Duchenne paralysis บาดเจ็บ C5 C6 และC7 ทารกที่ได้รับการบาดเจ็บชนิดนี้ทารกจึงอยู่ในท่าแขนเหยียดตรง หมุนเข้าด้านในข้อศอกเหยียด ข้อมือและนิ้วมืองอ การทำงานของนิ้วปกติ เกิดจากช่วยคลอดต้องมีการดึงโน้มศีรษะเพื่อช่วยคลอดไหล่
Klumpke paralysisบาดเจ็บ C8 และ T1 อาจทำให้มือทารกข้างที่บาดเจ็บไม่มีแรง
Total brachial plexus paralysis บาดเจ็บ Brachial plexus ทั้งหมด ทำให้ทั้งมือและแขนทารกมีอาการอ่อนแรง
เส้นประสาทไขสันหลัง
ขณะช่วยคลอดไหล่หรือเกิดการบิด
เส้นประสาทใบหน้า
ทำให้เคลื่อนไหวใบหน้าด้านเดียวที่มีการบาดเจ็บ หนังตาปิดไม่สนิท หายได้เองภายใน 2 - 3 วัน จนถึงไม่เกิน 2 สัปดาห์
Phrenic nerve
ทารกจะมีอาการหายใจลำบาก เสียงหายใจลดลง
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
ปัจจัยเสี่่ยง คลอดท่าก้นทางช่อง ทารกมีขนาดใหญ่ ที่พบบ่อยคือ ตับแตก
การบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกต้นขาหัก
มักพบรายที่คลอดท่าก้น
การหักของกระดูกอื่นๆ
ได้แก่ กระดูกจมูก กระดูกขากรรไกร กระดูกใบหน้า และ Septal cartilage อาจทำให้หายใจลำบากมีปัญหาการดูดนม
กระดูกต้นแขนหัก
ปัจจัยเสี่ยงได้แก่ คลอดติดไหล่ ทารกมีขนาดใหญ่ คลอดท่าก้น การผ่าตัด
การเคลื่อนหลุดของข้อต่อ
เกิดจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
กระดูกไหปลาร้าหัก
หายได้เองไม่มีผลระยะยาว
การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastoid
เกิดก้อนเลือดในกล้ามเนื้อ เมื่อทารกโตขึ้นกล้ามเนื้อที่บาดเจ็บไม่สามารถยืดขยายได้เท่ากับข้างปกติ ทำให้เกิดคอเอียง (torticollis) ศีรษะเอียงไปข้างที่บาดเจ็บ
การบาดเจ็บของบริเวณใบหน้า
บาดเจ็บของจมูก
ทำให้ทารกหายใจลำบาก
บาดเจ็บบริเวณดวงตา
หนังตาบวม retinal hemorrhage มักหายในเวลา 1-5 วัน
Subconjunctival hemorrhage มักหายในเวลา 1-2 สัปดาห์
Hyphema การแตกของกระดูกรอบดวงตา
การบาดเจ็บของ lacrimal duct ท่อน้ำตา
การบาดเจ็บของต่อมน้ำตา lacrimal gland