Coggle requires JavaScript to display documents.
1) รายจ่ายในทางเศรษฐกิจ
งบประมาณรายจ่ายเพื่อการลงทุน
งบประมาณรายจ่ายเพื่อการโอน เป็นรายจ่ายที่รัฐบาลโอนให้กับองค์กรส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจ
งบประมาณรายจ่ายประจำ
2) รายจ่ายในทางกิจกรรม
หมายความว่า
รายจ่ายที่รัฐบาลได้ใช้จ่ายไปเพื่อการบริหารงานของประเทศ และเป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลในการสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศด้วย
2.หลักผลประโยชน์ (Canon of Benefit)
3.หลักการกลั่นกรอง (Canon of Sanction)
1.หลักการประหยัด (Canon of Economy)
4.หลักการสร้างส่วนเกิน (Canon of Surplus)
4 ประการ ได้แก่
3) การใช้จ่ายของรัฐบาลในรูปเงินโอน เช่น การจ่ายเงินสงเคราะห์ บำเหน็จ บำนาญ เงินประกันการว่างงาน เงินอุดหนุนเกษตรกร เป็นต้น
4) การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นการจำกัดเสรีภาพทางเศรษฐกิจบางประการของภาคเอกชน เนื่องจากรัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการนำทรัพยากรไปใช้แทนภาคเอกชนเอง
2) การใช้จ่ายของรัฐบาลก่อให้เกิดรายได้แก่คนในสังคม เช่น การผลิตสินค้าและบริการให้แก่สังคม การสร้างสาธารณูปโภคที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น
1) การใช้จ่ายของรัฐบาลเพื่อจัดหาสินค้าและบริการ เช่น การป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย เป็นต้น
เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม มี 2กรณี
กรณีที่ 1พิจารณาว่าการใช้จ่ายของรัฐบาลส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของประเทศหรือไม่
รายจ่ายที่ไม่ได้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยตรง (Unproductive Expenditures)ลักษณะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภค (Consumption)
รายจ่ายที่เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยตรง (Productive Expenditures)
กรณีที่ 2 พิจารณาว่าการใช้จ่ายของรัฐบาลเกิดการเคลื่อนย้ายการใช้ทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาลหรือไม่
การใช้จ่ายที่ไม่มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรโดยตรง (Non-exhaustive Expenditure)
การใช้จ่ายที่มีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรโดยตรง (Exhaustive Expenditure)
แบ่งออก 10 ด้าน 3 ประเภท
ด้านการเศรษฐกิจ
ด้านการบริการชุมชนและสังคม
ด้านการบริหารทั่วไป
มี 7 ลักษณะใหญ่ๆ