Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:red_flag::star:อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง :star: :red_flag:, ท้าวดาหา,…
:red_flag::star:อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง :star: :red_flag:
:fountain_pen:
ผู้เเต่ง
:pen:
:check:พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช
::check:
:fountain_pen:
จุดมุ่งหมาย
:pen:
:check:ใช้แสดงละครใน:check:
:fountain_pen:
ลักษณะคำประพันธ์
:pen:
:check:มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ:check:
:check:แต่ละวรรคมักจะขึ้นต้นด้วย "เมื่อนั้น" "บัดนั้น" และ "มาจะกล่าวบทไป":check:
:fountain_pen:
ตัวละครสำคัญ
:pen:
:check:อิเหนา:check:
:check:บุษบา:check:
:check:จินตราวาตี:check:
:check:ท้าวกะหมังกุหนิง:check:
:check:ท้าาวดาหา:check:
:fountain_pen:
คุณค่าด้านสังคม
:pen:
:check:ด้านประเพณีเเละความเชื่อ:check:
:check:แม้อิเหนาจะมาจากชวาเเต่ ร.2 ก็ดัดแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมไทย:check:
:fountain_pen:
คุณค่าด้านเนื้อหา
:pen:
:check:มีโครงเรื่อเเละเนื้อเรื่องที่่สนุก:check:
:check:เรื่องความรักระหว่างอิเหนากับบุษบา เนื้อเรื่องสำคัญคือ อิเหนาไปตกหลุมรักกับจินตะหราทั้งที่มีคู่หมั้นอยู่เเล้วนั่นก็คือบุษบา จึงำให้เกิดปัญหาต่าง:check:
:fountain_pen:
ข้อคิดที่ได้รับ
:pen:
:check:รู้จักระงับใจตนเอง:check:
:check:รู้จักระงับอารมณ์ตัวเอง:check:
:check:อย่าใช้กำลังในการเเก้ปัญหา:check:
:check:ควรพอใจในสิ่งที่ตนเองมี:check:
:check:ควรคิดก่อนที่จะลงมือ:check:
:fountain_pen:
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
:pen:
มีบทละครเนื้อเรื่องเกี่ยวกับกษัตริย์กลวิธีการดำเนินเรื่องจึงยึดรูปแบบอบ่างเคร่งครัด:check:
การบรรยายเเละพรรณามีความละเอียดชัดเจน ทำให้เกิดจินตนาภาพ ผู้อ่านรู้สึกเข้าใจถึงบทละครเป็นอย่างดี:check:
:fountain_pen:
กลวิธีในการเเต่ง
:pen:
:check:จินตภาพ ผู้อ่านคิดตามภาพได้ เพราะ ใช้คำได้ชัดเจน:check:
:check:ภาพพจน์ มีการใช้อุปมาโวหารและกล่าวเกินจริง:check:
:check:การเล่นคำ คำซ้ำ,ใช้ภาษาที่สละสลวย,คำพ้อง:check:
:fountain_pen:
บทสรุปอิเหนา
:pen:
:check:แฝงด้วยข้อคิด คติธรรมที่สามารถนำไปใช้ได้:check:
:check:สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาของบรรพชนที่ได้ถ่ายทอดสภาพสังคมไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ความคิด:check:
:check:เป็นวรรณคดีมรดกของชาติ เต็มไปดวยความสนุก:check:
:fountain_pen:
ความเป็นมา
:pen:
:check:อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีมาตั้งเเต่สมัยโบราณ ซึ่งชาวชวาได้เเต่งขึ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์ชวาพระองค์นี้ทรงนำความเจริญแก่ชาวชวา ซึ่งพระองค์เป็นทั้งนักรบ นักปกครอง แลำพระองค์ทรงมีพระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่แพระราชธิดาของพระองค์ได้ทรงเสด็จออกผนวช จึงได้เเบ่งราชอาณาจักรออกเป็น ๒ ส่วน คือ กุเรปัน และดาหา ต่อมาท้าวกุเรปันได้ทรงมีพระราชโอรสพระอองค์หนึ่ง และื้าวดาหาทรงมีพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง ซึ่งทั้ง ๒ พระองค์มีพระนามว่า อิเหนาเเละบุษบา เมื่อเจริญพระชันษาอดีตพระราชธิดาของกษัตริย์พระองค์เดิมที่ทรงออกผนวช จึงมีพระราชดำริให้อิเหนาและบุษบาได้อภิเษกกัน เพื่อให้กุเรปันและดาหากลับมารวมกันเป็ฯราชอาณาจักรเดียวกันดั่งเดิม:check: