Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่ปัญหา เซลเจริญผิดปกติ, สุวรรณี สิริเลิศตระกูล.(2560)…
การพยาบาลเด็กที่ปัญหา
เซลเจริญผิดปกติ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
ระบบน้ำเหลืองของร่างกายนั้นจะมีหน้าที่ต่อสู้เชื้อโรค และประกอบไปด้วยเม็ดเลือดขาวที่ทำหน้าที่สร้างสารภูมิคุ้มกันหรือทำลายเชื้อโรค โดยต่อมน้ำเหลืองพบได้ทั่วร่างกาย เช่น บริเวณลำคอ รักแร้ เต้านม หรือบริเวณขาหนีบ ฯลฯ
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองมี 2 ชนิด
1.มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Non-Hodgkin lymphoma (NHL)
2.มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin disease (HD)
การวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
ตรวจไขกระดูก
CT Scan
MRI
Bone Scan
PET Scan
อาการ
ระยะเริ่มแรก มักมีไข้ หนาวสั่น ไอเรื้อรัง หรือต่อมทอนซิลโต หายใจไม่ค่อยสะดวก เหงื่อชอบออกช่วงเวลากลางคืน เบื่ออาหารและน้ำหนักลด มีอาการคันทั่วทั้งร่างกาย และเมื่อคลำบริเวณคอ รักแร้ หรือขาหนีบจะพบก้อนเนื้อ
ระยะลุกลาม ซีด มีเลือดออกง่าย แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย มีน้ำในช่องท้อง
การรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง
การให้ยาปฏิชีวนะใน NHL บางชนิด
การใช้ยาเคมีบำบัด
Stem Cell Transplantation
ฉายรังสี
มะเร็งไต Wilm Tumor
เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) เจริญผิดปกติ มีขนาดใหญ่ คลำได้ทางหน้าท้อง
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)หลังให้ยาให้นอนราบ 6-8 ชั่วโมง
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
ป้องกันการเกิดแผลในปาก
ดูแลปัญหาซีด ให้เลือด(Pack Red Cell) ติดตามประเมิน V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก ครึ่งชั่วโมงจนกว่าจะ Stable
ในช่วงที่มีการทำเคมีบำบัดตัวยาจะกดการสร้างเม็ดเลือด ทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำลง และติดเชื้อได้ง่ายขึ้น ทำให้มีอาการเจ็บปาก ร้อนใน ท้องเสีย จำนวนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่ำ อาจทำให้เกิดภาวะซีดในคนไข้บางราย
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
เกิดจากเซลต้นกำเนิดของเม็ดเลือดในไขกระดูกมีความผิดปกติ ไม่เจริญไปเป็นเซลแก่ได้แต่มีการแบ่งตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วยับยั้งการสร้างเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือด ก่อให้เกิดการซีด เลือดออกผิดปกติ ไข้สูงเป็นต้น
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute lymphoblastic leukemia ,ALL)
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
อาการ
อ่อนเพลีย
ซีด
มีจุดเลือดออกผิดปกติ
ไข้ไม่ทราบสาเหตุ
น้ำหนักลดผิดปกติ
คลำได้ก้อน
ต่อมน้ำเหลืองโต
ท้องแน่นโตจากตับม้ามโต
เลือดออกตามไรฟันหรือมีเหงือกบวมอักเสบผิดปกติ
อาการหอบเหนื่อย
การตรวจวินิจฉัย
เจาะตรวจไขกระดูก เพื่อนับจำนวนเซลล์ตัวอ่อน
ตรวจเลือดเพื่อนับจำนวนเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมฟอยด์ (Acute Lymphoblastic Leukemia – ALL)
Neuroblastoma
มะเร็งชนิดที่พบได้ส่วนใหญ่ในเด็ก โดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี เกิดขึ้นกับเซลล์ประสาทที่ชื่อว่า นิวโรบลาส ส่วนใหญ่จะพบนิวโรบลาสโตมาได้ครั้งแรกที่ต่อมหมวกไต
อาการ
อาการปวด อาการเหนื่อย หมดแรง และเบื่ออาหาร มีก้อน หรือบวมที่ท้อง ปวดกระดูก
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
ระยะการรักษาด้วยเคมีบำบัด
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase) ให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาสั้นให้มากที่สุดและมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด ยาที่ใช้ Vincristine, Adriamycin,L – Asparaginase และ Glucocorticoid
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation
phase) ให้ยาหลายชนิดร่วมกัน เพื่อทำลายเซลล์มะเร็งให้เหลือน้อยที่สุด ยาที่ใช้ Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS
prophylaxis phase) ป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาท ยาที่ใช้ Metrotrexate, Hydrocortisoneและ ARA – C
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy)ยาที่นิยม 6 – MP ร่วมกับ Metrotrexate
การรักษาประคับประคอง
ให้เลือดเพื่อให้ระดับฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า7-8 กรัม/ดล.
ถ้าเกร็ดเลือดต่ำต้องให้เกร็ดเลือดก่อนการให้ยา
การให้ยาเคมีบำบัดเฉพาะที่
ฉีดเข้าสู่ไขสันหลัง
ฉีดเข้าหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงก้อนมะเร็ง
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
ยา
ยากลุ่มAntimetabolites
6-mercaptopurine (6MP) , methotrexate , cytarabine (Ara-C)
ตัวยาจะเข้าไปแทนที่ในสายพันธุกรรมส่งผลให้เกิดยับยั้งการสร้างสายพันธุกรรม
cyclophosphamide ป็นยาที่ออกฤทธิ์ทำลายสารพันธุกรรมเพื่อป้องกันการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง
Ondasetron(onsia)ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
Ceftazidime(fortum) , Amikin ป้องกันการติดเชื้อเนื่องจากมีไข้
สุวรรณี สิริเลิศตระกูล.(2560).การดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่เข้ารับการเคมีบำบัดแบบใดที่ถูกต้อง.สืบค้นเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 63,จาก
https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/
Phyathai Hospital.(2560).มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma).สืบค้นเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 63,จาก
https://www.phyathai.com/article_detail/1468/th/