Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติหลอดเลือด และการไหลเวียนเลือด, นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์ …
ความผิดปกติหลอดเลือด
และการไหลเวียนเลือด
Hypertension
ความดันโลหิตสูงคือ ภาวะความดันโลหิตที่ผนังหลอดเลือดแดงสูงเกิน 140/90 mmHg
การวินิจฉัยความดันโลหิตคือ ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg ติดต่อกัน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน
ปัจจัยที่มีผล
Cardiac output
Blood volume
Resistance
Flexibility of arterial wall
Diameter of artery
Thickness
ความดันโลหิตสูงมี 2 ประเภท
Essential or primary hypertension :
ไม่ทราบสาเหตุ
Secondary hypertension : มีสาเหตุ
การแบ่งระดับ
Prehypertension ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 120/80-139/89 mmHg
Stage 1 ระดับความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140/90-159/99 mmHg
Stage 2 ระดับความดันโลหิตตั้งแต่ 160/100 mmHg เป็นต้นไป
Hypertensive crisis ตั้งแต่ 180/110 mmHg เป็นต้นไป
Hypertensive urgency ไม่มีอวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย
Hypertensive emergency มีสัญญาณของอวัยวะเป้าหมายที่สำคัญถูกทำลาย ตา ไต หัวใจ สมองและหลอดเลือด
แบ่งโดย JNC
มากกว่าเท่ากับ140/90 : JNC 6,7 => hypertention
140-159/90-99 : JNC 6,7 => stage1
160-179/100-109 : JNC 6,7 => stage2
มากกว่าเท่ากับ 180/110 : JNC 6 => stage3 / JNC 7 => stage2
การวินิจฉัย
JNC 8
Age 60
DM or CKD
Treated at B.P.> 140/90 mmHg
American College of Cardiology/AHA
ASCVD Risk > 10%
Previous CAD
DM or CKD
Treated at B.P.> 130/80 mmHg
ASCVD
คำนวณจาก อายุ เพศ เชื้อชาติ การสูบบุหรี่ โคเลสเตอรอล ความดันโลหิต และเบาหวาน
สาเหตุทุติยภูมิ
ได้รับยาบางชนิด, ความผิดปกติทางระบบประสาท, โรคไต, โรคของต่อมไร้ท่อ, อาหารที่มีสารธัยรามีน, ภาวะเครียดเฉียบพลัน, ความผิดปกติของหลอดเลือด, ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์, Renovascular disease, Pheochromocytoma
ปัจจัยเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
พันธุกรรม
อายุ
เพศ
เชื้อชาติ
เปลี่ยนแปลงได้
ภาวะ (Stress)
อ้วนมาก
สารอาหาร
สารเสพติด
ออกกำลังกาย
พยาธิสภาพ
ตัวรับความดันโลหิตและตัวรับเคมีในหลอดเลือดแดง
การควบคุมปริมาตรน้ำในร่างกาย
ระบบเรนนินแอนจิโอเทนซิน
การควบคุมตัวเองของหลอดเลือด
อาการ
ปวดศีรษะท้ายทอย โดยเฉพาะช่วงเช้า เวียนศีรษะ มึนงง เลือดกำเดาไหล หายใจลำบากขณะออกแรง
ผลกระทบ
มีการทำลายผนังหลอดเลือดแดง
หลดอเลือดตีบแคบ เกิดลิ่มเลือดและอุดตัน
การทำงานของหัวใจมากขึ้น
มีการทำลายของอวัยวะสำคัญ
การรักษา/พยาบาล
การรักษาแบบไม่ใช้ยา ได้แก่ การปรับพฤติกรรม (Life Style Modification)
การรักษาโดยการใช้ยา มีเป้าหมายในการลดระดับความดันโลหิตให้ต่ำกว่า 140/90 mmHg
ยาต้านอะดรีเนอจิก
ยาต้านแคลเซี่ยมเข้าเซล
ยาต้านระบบเรนินแอนจิโอเทนซิน
Stroke
ประเภทของ Stroke
Ischemia stroke ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
Hemorrhagic stroke เกิดจากหลอดเลือดในสมองแตก
อาการ
ระยะเฉียบพลัน 24 - 48 ชั่วโมง หมดสติ ความดันในกะโหลกศีรษะสูง การหายใจและการทำงานของหัวใจผิดปกติ
ระยะหลังเฉียบพลัน อาการคงที่ 1- 14 วัน
ระยะฟื้นฟูสภาพ 3 เดือนแรก
ปัจจัยเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
ประวัติครอบครัว
ประวัติเคยเป็น Stroke
เปลี่ยนแปลงได้
เป็น HT, DM, สูบบุหรี่, สุรา หรือยาเสพติด
โรคของ carotid artery disease และ peripheral
โรคของหัวใจและระบบไหลเวียน
TIA
ไขมันในเลือดสูง
อ้วน ไม่ออกกำลังกาย
การรักษา/พยาบาล
รักษา Ischemic Stroke ที่เกิดจากลิ่มเลือดหรือการอุดตัน ตีบแคบของเส้นเลือด ให้ยาละลายลิ่มเลือด
หลอดเลือดแตกและมีเลือดออกในสมอง ต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการเตือน Stroke
Thrombopheblitis
สาเหตุ
การอักเสบของผนังหลอดเลือดดำร่วมกับการอุดตันโดยลิ่มเลือดที่หลอดเลือดดำ
อาการ
ปวดบริเวณที่เกิดหลอดเลือดอักเสบ บวม แดง มีการขาดเลือดของอวัยวะที่มีการอุดตัน
การรักษา
ให้ยาขยายหลอดเลือด และยาละลายลิ่มเลือด
ถ้ารักษาด้วยยาไม่ได้ผลทำการผ่าตัดขยายหลอดเลือดหรือเอาก้อนเลือดออก
การพยาบาล
ห้ามวิ่ง เดินนาน หรือยกน้ำหนัก
ใส่ผ้ายืดหรือถุงน่องรัดขาไว้
ห้ามใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมน
ดูแลป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำ
ลดน้ำหนัก
Thromboangitis Obliteranns
อาการ
ปวดบริเวณขา และหลังเท้ารุนแรง อาจปวดน่องร่วมด้วยเวลาเดิน เดินไม่ได้ไกล เป็นตะคริวบ่อย หายไปเมื่อพัก เรียกว่า Intermittent Claudication
แผลเรื้อรัง ตามนิ้วมือ นิ้วเท้า ในที่สุดอาจถูกตัดนิ้วมือและเท้าได้
การวินิจฉัย
เบื้องต้นจากประวัติ
การตรวจ ABI หรือ Droppler ultrasound, Artheriograms
การรักษา/พยาบาล
เพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยง
ส่วนปลายได้ดีขึ้น
งดสูบบุหรี่
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
ให้ยาขยายหลอดเลือด แก้ปวด
ให้ยา NSIAD เมื่อมีอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
การผ่าตัด
Peripheral arterial disease
สาเหตุ
การที่ผนังหลอดเลือดแดง (intima)ได้รับอันตรายซึ่งอาจจะเกิดจาก
แรงดันของความดันโลหิต
การอักเสบจากโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื้อบางชนิด
สารเคมีในร่างกาย
ปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่, ไขมันในเลือดสูง, ความดันโลหิตสูง, โรคเบาหวาน, โรคอ้วนลงพุง, ขาดการออกกำลังกาย, รับประทานอาหารไม่ถูกต้อง, เพศ, อายุ, ประวัติการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดตีบก่อนวัยในครอบครัว
อาการ
คล้ายหลอดเลือดแดงอักเสบ คือ จะมีอาการปวดรุนแรงบริเวณที่หลอดเลือดแดงไปเลี้ยง เช่น บริเวณ แขน ขา น่อง
การรักษา/พยาบาล
การดูแลรักษาแบบประคับประคอง
กระตุ้นให้เดินจนกระทั่งเริ่มปวด แล้วหยุด
หลีกเลี่ยงการประคบน้ำแข็งหรือน้ำร้อน
สวมรองเท้าที่คับพอดี
หลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไป หรืออาหารมันมากเกินไป รับประทานอาหารที่มีวิตามินบีมาก
การดูแลเท้า
การออกกำลังกาย
การควบคุมระดับไขมันในเลือด
การควบคุมความดันโลหิต และโรคเบาหวาน
การรักษาด้วยยา
การใช้ยา โดยใช้ ยาต้านเกล็ดเลือด Anti-Platelet Agents
Anticoagulation Agents – ยาละลายลิ่มเลือด
ยาขยายหลอดเลือด
ยา Beta-blocker ,estrogen
การผ่าตัด : Balloon angioplasty
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนราบขาเหยียดตรง ห้ามงอ ห้ามเอาหมอนรองใต้เข่า
สังเกตออาการ Bleeding, pain, infection, ขาดเลือด, หายใจและวิตกกังวล
เฝ้าระวังภาวะเลือดออกง่าย
คำแนะนำป้องกันกลับเป็นซ้ำ
สังเกตอาการผิดปกติ 6 P
Deep vein thrombosis
พยาธิสภาพ
เส้นหลอดเลือดดำจะนำเลือดที่ใช้แล้วกลับสู่หัวใจ โดยอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อ ร่วมกับลิ้นในหลอดเลือดดำ หลอดเลือดดำที่ขาsuperficial veinซึ่งจะนำเลือดจากผิวไปสู่หลอดเลือดดำส่วนลึก deep veinซึ่งจะอยู่ในกล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำลึกก็จะนำเลือดไปยังหลอดเลือดดำใหญ่ในท้อง inferior venacava
เมื่อมีภาวะที่เลือดดำหยุดไหลเวียนและจับแข็งตัวเป็นภาวะ Trombosis ลิ่มเลือดคั่งในหลอดเลือดดำ อาจจะเกิดร่วมกับการอักเสบของหลอดเลือดดำ thromboplebitis ทำให้บวมและปวดเท้า
สาเหตุ
หลอดเลือดดำได้รับอันตราย
เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนช้าลง
การที่เลือดมีการแข็งตัวง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
คนแก่ นอนไม่เคลื่อนไหวมากว่า 3วัน, อัมพาต, การเข้าเผือก, หลังผ่าตัดทำให้ต้องนอนนาน, การที่ต้องนั่งรถ หรือนั่งไขว่ห้าง, การใช้ยาคุมกำเนิด ฉีดยาเสพติด, การตั้งครรภ์, โรคมะเร็ง, โรคทางพันธุกรรมบางโรค
อาการ
บวมที่เท้าเนื่องจากการไหลกลับของเลือดไม่ดี อาจจะเห็นเส้นเลือดโป่งพอง ปวดกล้ามเนื้อหรือเป็นตะคริวพบได้ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย เวลากระดกข้อเท้าจะทำให้ปวดมากขึ้น
การตรวจร่างกาย
บวมเท้าที่เป็นข้างเดียว
Homans Sign จะมีอาการปวด
หลอดเลือดดำโป่งและอาจจะคลำได้
ไข้ต่ำๆ
การตรวจพิเศษ
venography
venous ultrasound
MRI
การรักษา/พยาบาล
ให้ heparin หรือ low molecular weight heparin หลังจากนั้นต้องให้ warfarin
ลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือด
วิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
Varicose vein
พยาธิสภาพ
เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดดำให้ผิวหนัง ลิ้นกั้นในเลือดเสียหน้าที ทำให้ไม่สามารถไล่เลือดให้ไหลกลับสู่หัวใจได้หมด จึงเกิดการคั่งของเลือดในหลอดเลือดดำ
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มีปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดคือ การยืนนานๆ การตั้งครรภ์ ความร้อน การถูกผูกรัด
เพศ พบว่าเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
อาการ
ปวดตื้อ ๆ บริเวณขา กล้ามเนื้อเป็นตระคริว
เมื่อยล้าขามากผิดปกติ
ระดับรุนแรง หลอดเลือดอุดตัน จะมีอาการบวมปวด ขามีสีคล้ำ
อาจมีแผลที่เท้า
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ และติดเชื้อได้ง่าย
การวินิจฉัย
Bodiettrendendelenberg test
Ultrasonography และ venography
การรักษา/พยาบาล
รักษาแบบประคับประคอง
การผ่าตัดนำหลอดเลือดที่ขอดออก
ควรคลำ pedal pedis pulse ตรวจการทำหน้าที่ของ Motorและ Sensory ของขาทุก 2 ชั่วโมง
คลายผ้ายืดวันละ 3 ครั้ง และพันใหม่ทุกครั้ง
เดินได้ตั้งแต่วันแรก แต่ต้องพันขาและสวมถุงน่องไว้นานประมาณ 1 เดือน
ให้แนะนำเพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำ : ห้ามนั่งไขว่ห้าง, ออกกำลังขาโดยการนอนยกขาสูง, ลดน้ำหนัก, ห้ามสวมเสื้อผ้าคับ รัดแน่นที่ขา, สวม Elastic stocking, รับประทานอาหารเส้นใยสูง, ลุกเคลื่อนไหว ทุก 35-45 นาที,
นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์
รหัส612501033 เลขที่31