Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด, เทคนิคที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจตรงกัน,…
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
แนวคิดและหลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
คุณลักษณะของพยาบาล : มีความรู้ความสามารถด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชและศาสตร์ที่เกี่ยวข้องด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมมนุษย์
มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติพยาบาล
ควมเข้าใจ Understanding
ความจริงใจ Altruism
การยอมรับ Acceptance
ความเอาใจใส่ Concern
ความรักในเพื่อนมนุษย์ Love
การเอาใจใส่ดูแล Care
การเข้าถึงความรู้สึกผู้อื่น Empathy/Empathic understanding
จุดมุ่งหมายของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ผู้ป่วยสามารถติดต่อสื่อสารกับบุคคลอื่นได้อย่ามีประสิทธิภาพ
ผู้ป่วยเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง มองเห็นปัญหายอมรับ และแก้ปีญหาตนเองได้อย่างมีความสุข
หลักการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
3.ความเชื่อถือได้ :ใช้คำพูดเป็นจริง ยึดมั่นหลักการและเหตุผล
4.การให้เกียรติ : ผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง ให้เกียรติ สุภาพ
2.การรักษาความรับ: จรรยาบรรณวิชาชีพ
5.การร่วมมือ : ให้ข้อมูลและวัตถุประสงค์
1.การตั้งเป้าหมาย: ชัดเจน มีทิศทางเพื่อการบำบัด
6.การรู้จัก : สร้างความมั่นใจ ไว้วางใจ แนะนำตนเอง
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
4.Action-oriented:นำปฏิกิริยาของผู้บริการมาวิเคราะห์
5.Satisfaction gain: ความพอใจของพยาบาลคือผู้บริการเข้าสู่สังคมได้
3.Process dynamic:ประเมินเป็นระยะ พยาบาลต้องปรับปรุงรูปแบบสัมพันธภาพใหม่ๆ
6.Terminated-relationship:มีการเริ่มต้น-สิ้นสุด
2.Helping:เป็นเพียงผู้ให้ไม่เป็นผู้รับ และไม่หวังผลตอบแทน
1.Goal directed :ช่วยเหลือผู้ใช้บริการให้พัฒนาความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
ขั้นตอนการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ระยะที่ 2: ระยะดำเนินการหรือระยะทำงาน (The Working phase) ระยะแก้ไข ผู้ป่วยเริ่มไว้วางใจพยาบาลแล้ว ผู้ป่วยจะบอกความรู้สึกที่แท้จริงและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องให้พยาบาลทราบ
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความรู้สึก
Acknowledge the patient’s feeling เป็นการแสดงการรับรู้ความรู้สึกของผู้ป่วย และยอมรับเขา ผู้ป่วย “ฉันเจ็บใจเขามาก ทำไมเขาต้องทำกับฉันแบบนี้ ฉันอายคนอื่นเขา” พยาบาล “คุณรู้สึกว่าคุณกำลังโกรธ”
Using silence การใช้ความเงียบ ใช้อย่างถูกจังหวะและมีความหมาย คือ การนั่งฟังโดยไม่แสดงความคิดเห็นหรือโต้ตอบ
Giving general lead เป็นการกล่าวนำเพื่อให้ผู้ป่วยพูดต่อ “แล้วคุณคิดจะทำอะไรต่อไป”
Reflecting การสะท้อน ให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเอง ผู้ป่วย “ฉันรู้สึกเหมือนอยู่คนเดียวในบ้าน ทั้งที่มีคนในบ้าน มากมาย” พยาบาล “คุณรู้สึกว่าคนในบ้านไม่มีใครสนใจคุณเลย”
Using broad opening statement เป็นการใช้คำพูดในประโยคปลายเปิด เพื่อให้ผู้ป่วยตอบกว้าง ๆ “คุณพอจะเล่าให้ดิฉันฟังได้ไหมว่าเมื่อวานนี้ก่อนมาโรงพยาบาลมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง”
Reflecting feeling การสะท้อนความรู้สึก ผู้ป่วย “กลับไปบ้านครั้งนี้ จะทำงานได้หรือเปล่าก็ไม่รู้ พยาบาล “คุณคงรู้สึกกังวล ไม่แน่ใจว่าจะกลับไปทำงานเดิมได้หรือไม่”
Sharing observation บอกสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็น เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดออกมา “คุณมีสีหน้าเศร้าขณะที่พูดถึงคุณพ่อของคุณ”
Open question คำถามเปิด “เพราะอะไรจึงมาโรงพยาบาล”
ระยะที่ 3 ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ (The Terminating Phase) เป็นระยะประเมินผล ถ้าอาการดีขึ้น พยาบาลควรให้ความเมตตา Compassion และทัศนคติที่ดีในการดูแลเอื้ออำนวยให้ผู้บริการช่วยเหลือตนเองได้ พยาบาลควรระวัง วิตกกังวลจากการแยกจาก เช่น โกรธ ไม่พอใจ มีพฤติกรรมถดถอย
ระยะที่1 : ระยะเริ่มต้น(The Introductory phase หรือ Initiating phase)
-แนะนำตัวให้รู้จักซึ่งกันและกัน
-บอกวัตถุประสงค์ของการสร้างสัมพันธภาพบำบัด
-ระบุระยะเวลาในการช่วยเหลือ
-การรักษาความลับ
เทคนิคในการสื่อสาร
Giving information การให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย เช่น"ดิฉันชื่อ…….เป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่3 จาก……."
Offering self การเสนอตัวเองให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยให้เขารับรู้ว่ายังมีคุณค่า เช่น "ดิฉันจะนั่งเป็นเพื่อคุณสักครู่"
Accepting การยอมรับ ท่าทีเต็มใจ เข้าใจ ไม่โต้แย้งแต่ไม่ใช่ เห็นด้วย เช่น "สวัสดีค่ะ……."
Giving recognition กล่าวทักทาย,ทำคามรู้จัก,จำได้,เรียกชื่อเขาได้ถูกต้อง เช่น "สวัสดีค่ะ…….ดิฉันขอนั่งคุยเป็นเพื่อนนะคะ"
Closed question คำถามปิดเพื่อรวบรวมข้อมูลสั้นๆ เช่น "คุณมีพี่น้องกี่คน"
เทคนิคที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจตรงกัน
Verbalizing implied thought and feeling ความคิด ความรู้สึกที่ซ่อนเร้นอยู่ลึก ๆ ในคำพูดที่ผู้ป่วยพูดเป็นนัย ๆ ผู้ป่วย “ถ้าฉันไม่อยู่เสียคนหนึ่งทุกคนคงสบาย” พยาบาล “คุณรู้สึกว่า คุณเป็นภาระให้ทุกคนต้องลำบาก”
Present reality การให้ความจริงแก่ผู้ป่วยประสาทหลอน หลงผิด แปลสิ่งเร้าผิด “ดิฉันไม่เห็นมีอะไรในห้องนี้เลยนะคะ”
Validation การตรวจสอบความรู้สึก เพื่อยืนยันความ เข้าใจของตนเองจากผู้ป่วยอีกครั้งหนึ่ง“คุณรู้สึกสบายใจขึ้นบ้างไหมคะ”
Paraphrase การทวนความ ช่วยให้ผู้ป่วย รู้ว่าพยาบาลได้ยินในสิ่งที่เขาพูด
Focusing การมุ่งความสนใจให้ผู้ป่วยพูดบางประเด็น ให้กระจ่าง มีโอกาสไตร่ตรองเรื่องราว และทำความเข้าใจให้ถูกต้องต่อไป ผู้ป่วย “วันนี้ฉันรู้สึกไม่ค่อยดีเลย” พยาบาล “อธิบายความรู้สึกที่ว่าไม่ค่อยดี ให้ดิฉันฟังได้ไหมคะ”
Exploring การสำรวจข้อมูลเพิ่มเติม เป็นการสอบถามให้ลึกซึ้งและกว้างขวางขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยคิดไตร่ตรองเรื่องราวใหม่ “คุณพอจะเล่าเหตุการณ์ที่บอกว่าคุณแม่รักน้องมากกว่าคุณให้ดิฉันฟังได้ไหม”
Voicing doubt การตั้งข้อสงสัย “คุณคิดว่าเป็นไปได้หรอคะที่…….”
Restating การทวนซ้ำ ช่วยให้ผู้ป่วยรู้ว่าพยาบาลเข้าใจ เป็นการตรวจสอบความถูกต้องในการฟัง ผู้ป่วย “ผมรู้สึกแย่มากที่เทอมนี้คะแนนต่ำลงไปมาก ไม่รู้ว่าเป็นเพราะอะไร” พยาบาล “คุณไม่แน่ใจถึงสาเหตุที่การเรียน ตกต่ำ”
Summarizing การสรุป เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเป็นผู้สรุป เรื่องที่ได้สนทนาในครั้งนั้น แล้วชมเชย จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าถ้ายังมีสิ่งสำคัญที่ผู้ป่วยยังไม่ได้กล่าวถึง พยาบาลเป็นผู้เพิ่มเติมให้จะเป็นประโยชน์มากขึ้น “คุณพอจะบอกได้ไหมคะว่าวันนี้สนทนาเรื่องอะไรบ้าง”
Clarifying การขอความกระจ่างในคำพูด ที่ไม่ชัดเจนไม่แน่ใจว่าพยาบาลเข้าใจตรงกับ ผู้ป่วยหรือไม่ “ดิฉันไม่แน่ใจว่าดิฉันเข้าใจ ในสิ่งที่คุณพูด” “ที่คุณพูดมานั้นหมายความว่า…….ใช่ไหมคะ” “คุณช่วยกรุณาอธิบายความหมายของคำที่คุณพูดว่า ……ได้ไหมคะ”
นางสาวสุปราณี จันทร์กระจ่าง 61122230071 เลขที่ 64