Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง, image, image - Coggle Diagram
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องนี้ :star:
รู้จักระงับชั่งใจตัวเอง
รู้จักระงับอารมณ์ของตน
พอใจในสิ่งที่ตนมี
ควรคิดอย่างถี่ถ้วนก่อนกระทำ
อย่ามักมากในกาม
ผู้แต่ง :red_flag:
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมหาราช {ร.2}
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับกษัตริย์ ทั้งการดำเนินเรื่อง การใช้คำราชาศัพท์ จึงมีการยึดรูปแบบอย่างเคร่งครัด
มีความเหมาะสมเเละมีการพรรณนาอย่างละเอียดชัดจนทำให้เกิดจินตภาพ ทั้งฉากเมือง สงคราม
คุณค่าด้านเนื้อหา
บทละครเรื่องอิเหนามีโครงเรื่องเเละเนื้อเรื่องสนุก ทั้งเรื่องความรักระหว่างบุษบา ทั้งการทำสงครามเพราะหญิงสาว จึงเป็นปมไปสู่เหตุการณ์ต่างๆ
ตัวละครที่อยู่ในเรื่อง :fountain_pen:
ท้าวกะหมังกุหนิง
จินตหราวาตี
บุษบา
อิเหนา
ท้าวดาหา
จุดมุ่งหมาย :checkered_flag:
มักใช้ในการเเสดงละครในของวัง
คุณค่าด้านสังคม
สะท้อนถึงเเเละความเชื่อประเพณีที่ได้รับบางส่วนมาจากชวาเเละอาจดัดแปลงเพื่อให้เข้ากับวรรณกรรมไทย
ความรู้เรื่องด้านการรบในสมัยนั้นผ่านมุมมองของผู้บัญชาการในวรรณคดี
ความเป็นมา
เป็นวรรณคดีที่มีมาแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยมีที่มาจากนิทานปันหยี ซึ่งเป็นคำสามัญที่ชาวชวาใช้เรียกวรรณคดีที่สำคัญมากเรื่องหนึ่ง คือ อิเหนาปันหยีรัตปาตีวรรณคดีเรื่องอิเหนา มีเนื้่อหาเป็นพงศาวดาร แต่งขึ้นเพื่อการเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ชวาพระองค์หนึ่งซึ่งทรงเป็นนักรบ นักปกครอง และทรงสร้างความเหจริญให้แก่ชวาเป็นอย่างมาก กษัตริย์พระองค์นี้ทรงพระนามว่า ไอรลังคะ ครองราชย์อยู่ที่เมืองตาฮา (ดาหา) เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๕๑๒ กษัตริย์ไอรลังคะทรงมีพระราชธิดา ๑ พระองค์ และพระราชโอรส ๒ พระองค์ เมื่อพระราชธิดาเสด็จออกผนวชเป็นชี กษัตริย์ไอรลังคะจึงทรงแบ่งอาณาจักรออกเป็น ๒ ส่วน คือ กุเรปัน และดาหา เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์ พระราชโอรสพระองค์โตทรงครองกุเรปัน พระราชโอรสองค์เล็กทรงครองดาหาต่อมากษัตริย์กุเรปันทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่ง และกษัตริย์ดาหาทรงมีพระราชธิดาพระองค์หนึ่ง พระราชโอรสและพระราชธิดาท้้งสองพระองค์ทรงปรากฏพระนามในวรรณคดีว่า อิเหนาและบุษบา เมื่อเจริญพระชนม์ พระราชธิดาของกษัตริย์ไอรลังคะที่เสด็จออกผนวชเป็นชี มีพระราชดำริให้อิเหนาและบุษบาอภิเษกกัน เพื่อให้กุเรปันและดาหากลับมารวมเป็นราชอาณาจักรเดียวกันดังเดิม