Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินระบบหัวใจและหลอดเลือดและระบบทางเดินอาหาร - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินระบบหัวใจและหลอดเลือดและระบบทางเดินอาหาร
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
Coronary artery disease (CAD)
หลอดเลือดหัวใจตีบตัน
Stable angina
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บเค้นอกเป็นๆ หายๆ อาการไม่รุนแรงเจ็บนานครั้งละ 2-3 นาทีหายเมื่อพักเป็นมานานกว่า 2 เดือน
Acute coronary syndrome
เจ็บขณะพักเจ็บนานกว่า 20 นาทีเจ็บรุนแรงกว่าครั้งก่อน
ST elevation acute coronary syndrome
ST segmentยกขึ้นอย่างน้อย 2 leadsจากการอุดตันของเส้นเลือดหัวใจ
จะเกิดAcute ST elevation myocardial infarction (STEMI or Acute transmural MI or Q-wave MI)ถ้าไม่ได้รับการเปิดเส้นเลือดที่อุดตัน
Non ST elevation acute coronary syndrome
ไม่พบ ST segment elevation
-มักพบST segment depression/
T wave inversion ร่วมด้วย
ถ้าเจ็บนานกว่า 30 นาทีจะเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
ถ้าอาการไม่รุนแรงจะเป็นแค่Unstable angina
อาการนำที่สำคัญ
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน อาจทําให้ประสิทธิภาพการบีบตัวของ หัวใจลดลงอย่างรวดเร็วเป็นผลให้ความดันโลหิตลดต่ำลงจนเกิดอาการหน้ามืด เวียนศีรษะเป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก(Angina)
อาการเจ็บแน่น หรืออึดอัดบริเวณหน้าอกหรือปวดเมื่อย หัวไหล่หรือปวดกรามจุกที่ลิ้นปี่เป็นมากขณะออกกำลังกายเจ็บเหมือนมีอะไรมาทับเป็นนานครั้งละ 2-3 นาที
การวินิฉัย
การซักประวัติ
ใช้คลื่นไฟฟ้าหัวใจเทียบกันระหว่าตอนที่มีอาการและไม่ไม่อาการ
ความไวการวินิฉัยคลื่นหัวใจไฟฟ้าขณะพักมีเพียงร้อยละ 50
ส่งตรวจเพิ่มเติม exercise stress test, cardiac imaging
การวินิจฉัยแยกโรค
ในผู้ป่วยที่มีอาการต่างไปจากลักษณะเฉพาะ
โรคที่ให้อาการคล้ายคลึงกันเช่น aortic dissection, acute pulmonary embolism, tension pneumothorax
ส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการเพิ่มเติม
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (acute coronary syndrome)
เจ็บเค้นนานเกิน 20 นาที
ใช้ยาอมแล้วไม่ได้ผล
เจ็บอกเพิ่มขึ้น ต้องรีบตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ส่งตรวจcardiac markers ส่งตรวจทางห้งปฏิบัติการเพิ่มเติม รักษาตามอาการเบื้องต้นหรือส่งต่อโรงพยาบาลที่พร้อมกว่า
**ในรายที่พบST elevationให้รีบรีกษาทันที
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ
เพื่อช่วยในการวินิจฉัยและประเมินความรุนแรงของโรค
ส่งตรวจtroponin และ/หรือ cardiac enzymeในรายที่สงสัยภาวะหัวใจขาดเลือด
เพื่อตัดสินให้ผู้ป่วยอยู่ต่อหรือกลับบ้าน
ตรวจ troponin ได้ผลลบติดต่อกัน 2ครั้งห่างกัน 4 hr.เกิน9 hr.ให้ติดตามแบบผู้ป่วกนอกได้
อาการเจ็บเค้นอกนั้นมีสาเหตุมาจากโรคหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วยเคยได้รับการตรวจพิเศษทางหัวใจ
การรักษา
พักที่อากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้ Aspirinถ้าไม่แพ้
ให้ Isosorbide dinitrate ถ้าความดันซิสโตลิก > 90 mmHg ทุก5 นาทีครั้งละ1เม็ด ไม่เกิน3 เม็ด
ถ้าผู้ป่วยเคยได้รับยาอยู่แล้ว ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์ตามความเหมาะสม
หากอมยาแล้วไม่ดีขึ้นให้Morphine 3-5 mg IV เจือจาง
เตรียมพร้อมสําหรับภาวะแทรกซ้อนเช่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ,หัวใจหยุดเต้น
นําส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน หัวใจขาดเลือด หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การวินิฉัย
ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจรวมทั้งคลื่นไฟฟ้าหัวใจในสถานเพื่อจำแนกชนิดของหัวใจหยุดทำงาน
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead หลังจากการกู้ชีพสําเร็จทันที
พิจารณาส่งผู้ป่วย เพื่อตรวจสืบค้นเพิ่มเติม เช่น การตรวจหัวใจด้วย คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง สวนหัวใจ
วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคจากการซักประวัติและตรวจ ร่างกายอย่างละเอียด รวมทั้งการตรวจเพิ่มเติมพิเศษ
การรักษา
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก (cardiac massage)และควรพิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจเช่น ยา adrenaline (1:1,000) 1 มล.IV
ต้องทําการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
พิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว (temporary pacemaker)ในผู้ป่วย(3rd degree AV block)
ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก
พิจารณาให้การรักษาภาวะหัวใจขาดเลือด
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
กลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันผู้ป่วยกลุ่มนี้มาด้วยอาการเหนื่อยซึ่งเกิดขึ้นอย่าง เฉียบพลัน หายใจหอบ นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด
อาการที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง เป็นๆหายๆเกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจที่มีพยาธิสภาพกระจายกว้าง
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์ผู้ป่วยกลุ่มนี้ควรนึกถึงโรคหัวใจที่มีผลให้การทํางานของหัวใจลดลงอย่าง เฉียบพลัน เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน,
เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า3สัปดาห์ขึ้นไปควรนึกถึงโรคในกลุ่มที่การทํางานของหัวใจค่อยๆลดช้าลง เช่น Ischemic cardiomyopathy,
บทบาทของพยาบาล
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผลภายใน 10 นาทีพร้อมรายงานผล
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ
ให้ออกซิเจน เมื่อมีภาวะ hypoxemia
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย โดยกำหนดส่งต่อผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นอันดับแรก
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
ตามหลัก OPQRST
O: Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
P: Precipitate cause สาเหตุชักนําและการทุเลา
Q: Quality ลักษณะของ อาการเจ็บอก
R: Refer pain เจ็บร้าวไปที่ไหน
-S: Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บแน่นอก
T: Time ระยะเวลาที่เป็น
ประสานงานตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือด
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่ พยาบาลต้องเตรียมผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยเร่งด่วน
Pulmonary embolism (PE)
กลไกที่ทําให้เกิดลิ่มเลือด
การไหลเวียน ของเลือดลดลง(immobilization) เป็นเวลานาน
hypercoagulable states
มีผนังหลอดเลือดดําที่ผิดปกติเกิดจากมีlocal trauma หรือมีการอักเสบ ก้อนลิ่มเลือดดังกล่าวหากเกิดขึ้นแล้วมีโอกาสสูงที่จะหลุดเข้าสู่หลอดเลือดดํา inferior หรือ superior vena cava ก่อนผ่านเข้าหัวใจห้องขวาและหลุดมาอุดกั้นที่หลอดเลือดในปอด
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มีโรคมะเร็ง
เคยเป็น deep vein thrombosis (DVT) หรือ PE มาก่อน
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้estrogen
ประวัติครอบครัวเป็ น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านนมา ภาวะ hypercoagulability ชนิด acquired
อาการทางคลินิก
ผู้ป่วยมักจะมีอาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก pleuritic pain,hypoxemia, elevated jugular venous pressure,wheezing
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติตรวจร่างกาย สามารถจะบอกถึงความน่าจะเป็น (pretest probability)
การถายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray) มักพบว่าปกติเป็นส่วนใหญ่ อาจพบว่ามีเนื้อปอด บางบริเวณที่มีปริมาณหลอดเลือดลดลง
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG) sinus tachycardia
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiography) จะพบมีลักษณของ right ventricular dysfunction
.การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas, ABG) พบว่ามี
hypoxemiaร่วมกับ hypocapnia
ค่า biomarkers ต่างๆ ที่พบว่าสูงกว่าปกติ
Troponin-I หรือ T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide อาจสูงกว่าปกติได้
การรักษา
Anticoagulation ผู้ป่วยส่วนมากในกลุ่มนี้จะได้รับการรักษาโดยการให้anticoagulation
Thrombolytic therapy มักจะเก็บไว้ในผู้ป่วยที่มีกรณีmassive pulmonary emboli ที่มีระบบหัวใจ
และปอดทํางานผิดปกติมีผลกับ haemodynamic อย่างรุนแรง
Caval filter คือการใส่ตะแกรงกรอง embolism ใน inferior vena cava ตัวกรองเหล่านี้จะเป็นตัว เก็บ
ก้อนเลือดซึ่งมาจากขาหรือ iliac vein
ระบบทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt injury
การบาดเจ็บที่เกิดจากแรงกระแทก
Penetrating trauma
การบาดเจ็บที่เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผลนั้นStab wound หากพบวัตถุคาอยู่อย่าดึงออก พบว่า 1/3 ถูกแทงแต่ไม่ทะลุ peritoneum 2/3 เกิดอาการแทงทะลุperitoneum
ภาวะฉุกเฉิน
ภาวะเลือดออก สาเหตุของการเกิด ภาวะเลือดออกในช่องท้อง Blunt abdominal trauma คือเกิดการเสียเลือดเป็นผลมาจากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน ได้แก่ กระบังลม กระเพาะอาหาร ลําไส้ทําให้ปริมาณสารเหลวในระบบไหลเวียนลดลง ทําให้เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง ในการบาดเจ็บช่องท้อง Hypovolemic shock
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate) อวัยวะที่เป็นโพรงและเกิดการปนเปื้อนของสิ่งที่อยู่ในช่องท้องในกลุ่มนี้ทําให้มีการรั่วของอาหาร น้ําย่อยเข้าไปในช่องท้องเกิดภาวะการอักเสบติดเชื้อในช่องท้อง ทําให้เกิดการอักเสบทั่วช่องท้อง
การพยาบาลเบื้องต้น
การประเมินผู้ป่วย
Resuscitation เป็นการแก้ไขภาวะ immediate life threatening conditions
Secondary survey เป็นการตรวจอย่างละเอียด (head to toe)
Primary survey
A. Airway maintenance with Cervical Spine control
B. Breathing and ventilation การประเมินภาวะการหายใจของผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
C. Circulation with hemorrhagic control เป็นการประเมินการเสียเลือดหรือภาวะHypovolemic shock
D. Disability: Neurologic status คือการประเมินneurological status
E. Exposure/ Environment control คือการถอดเสื้อผ้าของผู้ป่วยเพื่อตรวจหาร่องรอยบาดแผล
Definitive care เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้วก็เป็นการรักษาที่เหมาะสม อาจนําผู้ป่วยไปผ่าตัดหรือเพียงแค่ Medication แล้วแต่พยาธิสภาพ
ความรุนแรง
ผู้ป่วยที่มีอาการหนักมาก Shock ท้องอืด มีเลือดออกในช่องท้องจํานวนมาก ต้องได้รับการผ่าตัดทันที
ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพคงที่ แต่มีอาการแสดงของการบาดเจ็บช่องท้อง ได้แก่ กดเจ็บที่ท้องกล้ามเนื้อหน้าท้องหดเกร็ง ท้องอืด มีเวลาตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม สามารถรอการผ่าตัดได้
ผู้ป่วยที่สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการของการบาดเจ็บที่ช่องท้องชัดเจนให้เฝ้าติดตามอาการในรายที่ไม่แน่ใจว่าได้รับการบาดเจ็บ
ลักษณะและอาการแสดง
อาการปวด เมื่อเกิดบาดแผลการปวดเกิดได้ 2 กรณี คือ ปวดจากการฉีกขาดของผนังหน้าท้องและอวัยวะภายในได้รับอันตราย
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
อาการท้องอืด เป็นอาการบ่งบอกถึงการได้รับบาดเจ็บของ ตับ ม้าม และเส้นเลือดใหญ่ในท้อง
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลําไส้
ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อกจากการตกเลือดภายใน
การพยาบาล
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผู้บาดเจ็บ Blunt abdominal trauma
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
การบาดเจ็บช่องท้องมักเกิดกับอวัยวะหลายระบบร่วมกัน ทําให้เกิดการสูญเสียเลือดอย่างมากผู้บาดเจ็บมีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะ Hypovolemic Shockได้
การบรรเทาความเจ็บปวด
ใช้ยาตามแผนการรักษาและวิธีการไม่ใช้ยา
ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
การเฝ้าระวัง
การประเมินความรุนแรงเบื้องต้นเป็นขั้นตอนสําคัญที่สุดในการรักษาโดยต้องมีการประเมินทางคลินิกอย่างรวดเร็วและให้การรักษาพยาบาลไปพร้อมๆ