Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย
ความหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ที่รัฐกำหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยหากผู้ใดฝ่าฝืนต้องรับโทษ
ลักษณะของระบบศาลไทย
ศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม
ศาลอุทธรณ์
เพื่อพิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
ศาลฎีกา
การวินิจฉัยชี้ขาดของศาลฎีกาถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง ซึ่งคู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
ศาลชั้นต้น
ชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก
ศาลแพ่ง
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น
ศาลอาญา
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร
ศาลปกครอง
เป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง
้เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้าง บรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ
ระบบไต่สวน
ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลทหาร
การพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิดตามกฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร
ลำดับชั้นหรือศักดิ
กฎกระทรวง
ออกกฎหมายเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินั้นๆ โดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
ระเบียบ และข้อบังคับ
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร เพื่อกำหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการทำงาน โดยอาศัยตามพระราชบัญญัติ
พระราชกฤษฎีกา
พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะน าของคณะรัฐมนตรี ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามารถมีบทกำหนดโทษ และถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิก พระราช กฤษฎีกาจะถูกยกเลิกไปโดยปริยาย
ประกาศและคำสั่ง
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์ อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
ประมวลกฎหมาย
ออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน อันจะเป็นประโยชน์ในการรักษาความ ปลอดภัยของประเทศ
พระราชบัญญัติ
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจะนำทูลเกล้าฯ
อื่นๆ
เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
รัฐธรรมนูญ
กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด ซึ่งกฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้
อำนาจบริหาร
อำนาจตุลาการ
อำนาจนิติบัญญัติ
การส่งเสริมสิทธิหน้าที่ของประชาชนชาวไทย
กฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ
ลักษณะ
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มี อ านาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์) ส าหรับประเทศไทย
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้ กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็น มาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม จึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย หากเกณฑ์ใดไม่มี สภาพบังคับก็ไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย
ระบบ
ระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ประเทศที่ใช้
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
อังกฤษ
อินเดีย
ออสเตรเลีย
รัฐสภาเป็น ผู้ออกกฎหมาย ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร
คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม จึงเป็น การพิจารณาคดีเฉพาะเรื่องไปสู่เรื่องทั่วไป
ประเทศที่ใช้
อิตาลี
เยอรมัน
เบลเยี่ยม
ออสเตรีย
ญี่ปุ่น
สเปน
สวิสเซอร์แลนด์
ไทย
จีน
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายเอกชน
ระหว่างเอกชนกับเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง
ก าหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน
แผนกคดีบุคคล
กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่งเกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
แผนกคดีอาญา
ความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดย ประชาชนของประเทศหนึ่ง หรือการกระทำผิดที่ต่อเนื่องในหลายประเทศ
กฎหมายมหาชน
ระหว่างรัฐกับประชาชน โดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่า