Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความ…
บทที่ 7 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
-
-
-
-
-
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
-
การประเมินสภาพ
การคลำ ผู้ป่วยเกร็งหน้าท้องเองเวลากด (Voluntary guarding) หน้าท้องเกร็งจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง (Involuntary guarding) การกดหน้าท้องแล้วปล่อยอย่างรวดเร็ว (Rebound tenderness)
-
การดู พบรอยช้ำ รอยแผลบริเวณท้อง หลัง เอว (Grey-Turner's sign) และรอบสะดือ (Cullen's sign) ท้องโป่งตึง โดยต้องมีเลือดออกมากกว่า 1.5 ลิตรท้องจึงจะโป่งตึง
-
-
-
-
การบาดเจ็บที่คอ
-
อาการ
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง ปวด บวม อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และอ่อนแรงร่วมด้วยควรคำนึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
-
การรักษา
ยึดหลัก ABCD ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่งรักษาภาวะช็อค Cardiac temponade มีอาการสำคัญ เรียกBeck'Traid Hypertension Engorged neck Vein Distant heart sound ทำ Pericardiocentesis
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการ
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด เลือดออกทางเดินปัสสาวะ คลำกระเพาะปัสสาวะได้ ตรวจทางทวารหนักคลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle's sign
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง (Retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ เรียกว่า Destor's sign
-
-