Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นตอนการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน (community assessment), นส นิลาวรรณ…
ขั้นตอนการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
(community assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล หมายถึง วิธีการที่ให้ได้มาซึ่งคําตอบ หรือสิ่งที่ต้องการตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ข้อคําตอบต่าง ๆ ที่รวบรวมมาได้เรียกว่าข้อมูล (Data)
ข้อมูลประชากรศาสตร์
1.1 ลักษณะประชากรและสถานภาพต่าง ๆ ของประชากรในชุมชน เช่น เพศ อายุ
เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา สถานภาพการสมรส เป็นต้น
1.2 จํานวนประชากรและการกระจายของประชากรตามเพศและอายุ
1.3 สภาพการเคลื่อนย้ายของประชากร เช่น การย้ายเข้า-ออก
1.4 อัตราเพิ่มของประชากร
1.5 ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และความเชื่อต่าง ๆ
ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม
2.1 อาซีพปัจจุบัน (อาชีพหลัก-รอง)
2.2 ระดับการศึกษา
2.3 ลักษณะรายได้ของบุคคลและครอบครัว
2.4 ลักษณะรายจ่ายของบุคคลและครอบครัว
2.5 ทรัพย์สินและภาระหนี้สินของครอบครัว
2.6 การเลี้ยงสัตว์และการปลูกพืชเศรษฐกิจ
2.7 การติดต่อซื้อขาย เช่น ข้าว พืชไร่ต่าง ๆ
2.8 การกระจายข่าวสารและการคมนาคมของชุมชน
2.9 ผู้นําชุมชนและกิจกรรมของชุมชน
ข้อมูลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
3.1 สภาพและลักษณะบ้าน
3.2 สภาพบริเวณบ้าน เช่น ความสะอาด
3.3 แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้
3.4 การกําจัดขยะมูลฝอย
3.5 ส้วม
3.6 แมลงและสัตว์
3.7 สัตว์เลี้ยงในบริเวณบ้าน
3.8 จํานวนและประเภทของโรงงานอุตสาหกรรม
4.ข้อมูลสถิติชีพและอนามัย
4.1 จํานวนหญิงมีครรภ์และการคลอด
4.2 การเจ็บป่วย
4.3 ความทุพพลภาพ
4.4 การตาย
4.5 การได้รับภูมิคุ้มกัน
4.6 อนามัยแม่และเด็ก
4.7 การวางแผนครอบครัว
ข้อมูลบริการด้านการแพทย์และอนามัย
5.1 สถานบริการด้านการแพทย์และอนามัยของรัฐและเอกชนในชุมชนและเขตใกล้เคียง
5.2 การใช้บริการด้านการแพทย์และอนามัยของประชากร
5.3 เจตคติของประชาชนต่อสถานบริการด้านการแพทย์และอนามัย
5.4 บริการสาธารณสุขมูลฐานของประชาชน
5.5 ร้านขายยาในหมู่บ้าน
ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ เจตคติ
และการปฏิบัติตนทางด้านอนามัย
6.1 ความรู้ด้านอนามัยทั่วไป เช่น อนามัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับโรคต่าง ๆ และการป้องกันโรค
6.2 ความรู้ด้านอนามัยเฉพาะเรื่อง เช่น ความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว
เทคนิคการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Data)
การรวบรวมข้อมูลสนาม (Field Data)
2.1 การสังเกต (Observation)
2.2 การสัมภาษณ์ (Interview)
2.3 การใช้แบบสอบถาม (Questionnaire)
หลักและข้อคํานึงในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ควรกําหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาข้อมูลให้ชัดเจน
พิจารณาดูว่า วัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ จะต้องใช้ข้อมูลชนิดใด
มาเป็นหลักในการ วิเคราะห์ และจะได้ข้อมูลเหล่านั้น มาจากที่ใด
ข้อมูลแต่ละชนิดที่ต้องการเน้น จะใช้เครื่องมือชนิดใดเป็นหลักในการรวบรวม เพื่อให้ได้ข้อมูลครบถ้วน สอดคล้องกับกําลังงาน เวลา และงบประมาณ
ต้องคํานึงถึงวิธีการรวบรวมข้อมูลนั้น เช่น ขั้นตอนในการดําเนินงาน
ข้อมูลที่รวบรวมมานั้น ควรเปลี่ยนเป็นตัวเลขได้
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การสรุปผลของการรวบรวมข้อมูลหรือการศึกษาเพื่อหาค่าของตัวแปร ต่าง ๆ หรือหาความสัมพันธ์ของตัวแปรเพื่อตอบปัญหาทางการศึกษา หรือหาคําตอบที่ต้องการ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
บรรณาธิกรข้อมูลดิบ (Edit the raw data)
การบรรณาธิกรข้อมูลคือ การตรวจสอบความ ถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล โดยทั่วไปจะกระทําทันทีหลังจากการเก็บข้อมูลสิ้นสุดลง
1.1 ตรวจดูความสมบูรณ์ (Completeness)
1.2 ตรวจดูความถูกต้อง (Accuracy)
1.3 ตรวจดูความเป็นเอกภาพ (Uniformity)
การแจกแจงความถี่
(Tally the data on worksheets)
3.1 การแจกแจงความถี่แบบไม่จัดช่วงคะแนน
(Ungrouped frequency distribution)
3.2 การแจกแจงความถีแบบจัดช่วงคะแนนหรือจัดเป็นหมวดหมู่ (Grouped data)
4.การาสรุปข้อมูล (Data Summarization)
1.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)
2.ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data)
การแยกประเภทข้อมูล
(The estabkishment of categories)
การนำเสนอขอมูล
การนําเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน
1.1 การนําเสนอในรูปของบทความ (Textual Presentation)
1.2 การนําเสนอในรูปของกึ่งบทความกึ่งตาราง (Semi tabular Presentation)
การนำเสนออย่างมีแบบแผน
2.1 การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
การนำเสนอข้อมูลแบบตาราง
ตารางทางเดียว
ตารางสองทาง
ตารางหลายทาง
การนำเสนอขอมูลแบบแผนภูมิ
2.2 การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
นส นิลาวรรณ นันต๊ะ เลขที่ 29 602001030