Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์ที่ 2 เฟื่องลดา - Coggle Diagram
สถานการณ์ที่ 2 เฟื่องลดา
ภาวะคลอดไหล่ยาก
ความหมาย
ภาวะที่ศีรษะของทารกแรกเกิดคลอดแล้วแต่ไหล่ของทารกไม่สามารถคลอดได้ นานมากกว่า 1 นาทีหรือจำเป็นต้องใช้วิธีการต่าง ๆ ทางสตูศาสตร์ เพื่อช่วยให้ไหล่คลอด
สาเหตุ
-
การคลอดเร็วเกินไป
กลไกการหมุนของไหล่ภายในที่ระดับ pelvic brim เพื่อให้ไหล่อยู่ในแนวหน้า-หลัง ของทางออกช่องเชิงกรานยังไม่เกิดขึ้น
-
-
-
-
-
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การซักประวัติ
-
ประวัติเคยคลอดทารกน้ำหนัก ≥ 4,000 กรัม
การตรวจร่างกาย
-
-
-
-
อัลตราซาวน์ พบน้ำหนักทารกในครรภ์ ≥ 4,000 กรัม
อธิบายข้อมูลการคัดกรอง ความเสี่ยง
แนวทางการป้องกันและการรักษาพยาบาล
แนะนำว่าควรทำร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
-
-
-
ระยะคลอด
ขอความช่วยเหลือจากแพทย์หรือผู้ที่มีประสบการณ์มากกว่า เพื่อให้ความช่วยเหลือแก้ไขสภาพทารกหลังคลอดและวิสัญญีแพทย์ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ยาสลบ
-
-
-
ลองดึงศีรษะทารกลงก่อนอีกครั้งพร้อมกับให้มารดาเบ่ง ห้ามให้ผู้ช่วยดันยอกมดลูก เพราะจะทำให้ไหล่หน้ายิ่งติดมากขึ้น และอาจเกิดมดลูกแตกได้
-
ระยะหลังคลอด
ด้านร่างกาย
-
การติดเชื้อ จากระยะเวลาการคลอดยาวนาน และหัตถการต่างๆเพิ่มโอกาสของการติดเชื้อที่โพรงมดลูก ช่องทางคลอด และแผลฝีเย็บมากขึ้น
-
ด้านจิตใจ
-
-
-
ให้กำลังใจชมเชยเละให้คำแนะนำในการดูแลตนเอง
ในระยะหลังคลอด และการดูแลทารกแรกเกิด
ให้กับมารดาหลังคลอด และครอบครัว
ด้านทารกแรกเกิด
ประเมินสีผิวการหายใจเละการร้องตั้งแต่แรกคลอด ไม่ต้องรอให้ครบ 1 นาทีเพราะหากรอประเมิน APGAR score ทารกแรกเกิดอาจเสียชีวิตได้
เมื่อทารกแรกเกิดมีสภาวะคงที่ ควรตรวจร่างกายทารกแรกเกิดอย่างคร่าวๆ ว่ามีส่วนใดบาดเจ็บหรือไม่ โดยเฉพาะบริเวณไหล่
-
-
เปิดโอกาสให้มารดาและครอบครัวสามารถเข้าเยี่ยมทารกแรกเกิดได้ เพื่อเป็นการส่งเสริมสัมพันธภาพลดความวิตกกังวลและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
-
ช่องคลอดฉีกขาด
เกิดแผลฉีกขาดเล็กน้อยในช่องคลอดจากการคลอด แผลฉีกขาดเล็กน้อยที่ผิวหนังเรียกว่า แผลฉีกขาดระดับที่หนึ่ง แผลฉีกขาดระดับที่สองและการกรีดหรือตัด มักจะตัดผ่านส่วนที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อ จึงจำเป็นต้องได้รับการรักษาและเยียวยาหลังจากการคลอด โดยการเย็บแผลเพื่อให้แผลสมานและหายดี หลังจากนั้นรอยเย็บทั้งหมดจะหายไปเอง
-
อาการและอาการแสดง
-หากเสียเลือดมากอาจ มีอาการซีด ชีพจรเบาเร็ว
ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออกใจสั่น ตัวเย็น รู้สึกกระหายน้ำ
ระยะแรกหายใจเร็วหลังจากนั้นหายใจช้าลง
-
-เจ็บปวด มีเลือดไหลออกทางช่องคลอดให้เห็น หรืออาจมีลักษณะไหลพุ่ง หรือคั่งค้างอยู่ภายในช่องคลอด โดยมักไม่ไหลออกมาให้เห็นแต่เมื่อกระตุ้นมดลุกให้แข็ง และกดไล่จะมีเลือดไหลออกมา
-
สาเหตุ
- การตัดแผลฝีเย็บ (Episiotomy, especially mediolateral)
- การคลอดเฉียบพลัน (Rapid or precipitate of labor)
- การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด (Forceps or vacuum)
- การคลอดติดไหล่ (Shoulder dystocia)
- ทารกมีส่วนนำที่ไม่ใช่ศีรษะ (Fetal malpresentation)
- การคลอดเฉียบพลันที่ผู้ทำคลอดทำการช่วยคลอด
ไม่ครบขั้นตอน เช่น ไม่ได้ save perineum เป็นต้น
- ทารกตัวโต (Fetal macrosomia)
การพยาบาล
-
- เมื่อมีการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ รักษาโดยการทำการตัดบริเวณฝีเย็บ(Episiotomy ) เพื่อขยายและเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอด ช่วยคลอด ลดระยะเวลาในระยะคลอด และป้องกันการฉีกขาดเองของฝีเย็บมี 5 วิธีที่ใช้กันทั่วไป
- J incision ซึ่งเป็นการตัดฝีเย็บที่มีจุดตั้งต้นจาก posterior fourchetteโดยตัดตรงลงมาก่อน แล้วจึงตัดโค้งออกไปทางด้านข้างคล้ายรูปตัว"J" เพื่อซ่อมแซมได้ง่ายกว่า mediolateral episiotomy ทำให้เกิด Third-fourth degree tears น้อยกว่า และเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอดได้มากกว่า ซึ่งไม่เป็นที่นิยม
- Inverted T incision เป็นการตัดฝีเย็บที่มีทำหลังการตัดวิธี Median episiotomy เพื่อเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอด ซึ่งไม่เป็นที่นิยม
- Mediolateral episiotomy เป็นวิธีที่มีการตัดบริเวณฝีเย็บอย่างน้อย 45 องศาจากกึ่งกลาง เป็นวิธีที่เพิ่มความกว้างของช่องทางคลอดได้มากที่สุด และทำให้เกิด (Third-fourth degree tears) น้อยกว่า Median episiotomy แต่ยากต่อการซ่อมแซม เสียเลือดมากกว่า และมีอาการเจ็บปวดหลังคลอดมากกว่า นิยมใช้ทั่วไปในประเทศอื่นๆนอกจากสหรัฐอเมริกา
- Lateral episiotomy การตัดฝีเย็บที่จุดเริ่มต้น 1-2 เซนติเมตรจากจุดกึงกลางฝีเย็บโดยตัดไปทางischial tuberosity ซึ่งไม่เป็นที่นิยม
- Median episiotomy เป็นวิธีที่ง่ายต่อการทำและซ่อมแซม และมีความเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ในช่วงหลังคลอดน้อยกว่าอีกวิธี แต่มีความเสี่ยงที่สูงที่จะเกิด Third-fourth degree tears นิยมใช้ทั่วไปในสหรัฐอเมริกา
ป้องกันการบาดเจ็บของช่องทางคลอด โดยการใช้มือพยุงฝีเย็บ
การควบคุมการก้มของศีรษะทารก รวมทั้งการควบคุมการเบ่ง
ขณะที่ศีรษะทารกเงย
โดยการใช้นิ้วมือกดเบาๆ บริเวณใต้ท้ายทอยของศีรษะทารกให้ก้มลง ขณะที่ศีรษะกำลังเงยผ่านช่องคลอดออกมาโดยให้เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะที่มีขนาดเล็กที่สุดผ่านออกมาทางช่องทางคลอดก่อนอย่างช้าๆจนกระทั่งส่วนที่กว้างที่สุดของศีรษะผ่านพ้นออกมาทางช่องคลอดตามลำดับ
- ไม่จำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะใน First/second degree tears ส่วน Third/fourth degrees tears นั้นมีคำแนะนำว่าควรมีการให้ broad spectrum antibiotics เช่น cefotetan หรือ cefoxitin หรือ clindamycin ช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของแผลฝีเย็บ
- สังเกตเลือดที่ออกจากแผลฝีเย็บหรือช่องคลอดจากผ้าอนามัย ชั่งผ้าอนามัยและบันทึก ทุก 30 นาที- 1 ชั่วโมง ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังรับย้ายจากห้องคลอด
- หากผู้ป่วยเสียเลือดมาก เฝ้าระวังภาวะช็อกจากการเสียเลือด (Hypovolemic shock) เช่น เวียนศีรษะ หน้ามืด ใจสั่นเหงื่อแตก มือ-เท้าเย็น
-
- หากพบว่ามีอาการแสดงของ hypovolemic shock
-ให้ออกซิเจน Mask with bag 8-10 ลิตร/นาที เพื่อช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือดและเพิ่มออกซิเจนไปเลี้ยงสมอง
-
- เปิดเส้นให้สารน้ำชนิด isotonic solution เพิ่มอีก 1 เส้น เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย
-
-เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการได้แก่ CBC, PT, PTT, INR ขอผลด่วน และจองเลือดPack red cells 2 ยูนิต
-บรรเทาอาการปวดแผลฝีเย็บ ให้รับประทานยาพาราเซตามอล เพื่อลดอาการปวด เช่น Alvedon® 500 mg 2 เม็ด 4 ครั้งต่อวัน พร้อมกับ ibuprofen โดยแนะนำให้ใช้ Ipren® / Ibumetin® 400 มก. 1 เม็ด 3 ครั้งต่อวัน ซึ่งยาไม่มีผลต่อทารกเมื่อให้นมบุตร
-ดูแลบาดแผล และแนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนานมัย โดยทิ้งช่วงเวลา 2-3 ชั่วโมงหรือเมื่อรู้สึกเปียก ชำระล้างอวัยวะเพศด้วยน้ำเมื่อจำเป็น แต่ไ่ม่บ่อยจนผิวแห้งเกินไป อย่าใช้สบู่หรือครีม อย่าถูเมื่อเช็ดระหว่างฝีเย็บ
-
-