Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 การช่วยเหลือเบื้องต้นในเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle…
บทที่ 14 การช่วยเหลือเบื้องต้นในเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
สาเหตุและปัจจัย
วัยของเด็ก
ประสบการณ์พัฒนาการต่างกัน
อุบัติเหตุเกิดต่างกัน
สภาพครอบครัว
ประมาท เลินเล่อ รู้เท่าไม่ถึงการณ์
ขาดการเอาใจใส่ดูแล
สิ่งแวดล้อม
กายภาพ
ใกล้ถนน แม่น้ำ คลอง เครื่องใช้ชำรุด
สังคม
อยู่ชมชนเสี่ยง แออัด ใช้ความรุนแรง
อุบัติเหตุและการช่วยเหลือเบื้องต้น
จมน้ำ(Drowning)
ลักษณะ
จมน้ำเสียชีวิตใน24ชั่วโมง เรียกจมน้ำตาย(drowning)
จมน้ำไม่เสียชีวิตนานเกิน 24 ชั่วโมง เรียกจมน้ำเกือบตาย ( Near-Drowning)
ผลกระทบ
น้ำจืด
ทำลายสารเคลือบผนังถุงลมทำให้ปอดแฟบ
น้ำซึมเข้าหลอดเลือด เลือดจาง เม็ดเลือดแดงแตก
น้ำเค็ม
โปรตีนถูกดูดซึมเข้าถุงลม ถุงลมปอดแตก
น้ำคั่งในปอด เลือดเข้มข้นมาก ขาดออกซิเจน หัวใจวาย
การป้องกัน
ต่ำกว่า 4ปี ดูแลใกล้ชิดเมื่อใกล้แหล่งน้ำ กะละมัง โอ่ง
มากกว่า 4 ปี สอนว่ายน้ำ ใส่เสื้อชูชีพ
การช่วยเหลือเบื้องต้น
อุ้มขึ้นจากน้ำ หัวต่ำกว่าอกป้องกันสำลักน้ำเข้าปอด ถ้าหายใจได้ ถอดเสื้อผ้าเปียก เช็ดตัว ใส่เสื้อผ้าแห้ง นอนท่าตะแคงกึ่งคว่ำ จมนานเกิน 4 นาทีทำ CPR ห้ามอุ้มพาดบ่าและกระโดด
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู จมูก คอ หลอดลม
การป้องกัน
เก็บของใช้ให้เรียบร้อยโดยเฉพาะชิ้นเล็ก
ไม่ให้ทานอาหารเสี่ยงติดคอ เช่นมีก้าง กระดูก เมล็ด
ไม่ทำให้เด็กหัวเราะขณะวิ่งเล่น ทานอาหาร
การช่วยเหลือเบื้องต้น
สิ่งแปลกปลอมเข้าตา
เศษดิน แมลง
ห้ามขยี้ตา ราดด้วยน้ำสะอาดจากหัวตาไปหางตา หรือลืมตาในน้ำ ถ้าไม่ออกใช้มุมผ้าสะอาดเขี่ย ปิดตาสองข้างไม่กรอกลูกตา ส่งโรงพยาบาล
สารเคมี
ห้ามขยี้ตา ล้างตาด้านถูกสารเคมีอยู่ด้านล่าง 10 นาที ปิดตาสองข้างส่งโรงพยาบาล
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
วัตถุ
ไม่เอาวัตถุออกเอง ส่งโรงพยาบาล
แมลง
นั่งตะแคงศีรษะ หยอดน้ำมันมะกอกหรือน้ำอุ่นในรูหู ไม่ได้ผลส่งโรงพยาบาล
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
ปลอบโยน สั่งน้ำมูกแรงๆปิดข้างไม่มีวัตถุ ถ้าอยู่ไม่ลึกคีบออก ถ้าไม่ออกส่งโรงพยาบาล
สิ่งแปลกปลอมติดคอหรือหลอดลม
ทารกหรือเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
1.ท่า Back Blow นอนคว่ำบนแขน หัวห้อยต่ำ ตบกลางสะบัก 2 ข้างแรงๆประมาณ 5 ครั้ง
2.ยังไม่หลุด ทำ Chest thrusts นอนหงายบนแขน วางนิ้วชี้และนิ้วกลางบนกระดูกอก กดแรงๆ 5 ครั้ง
เห็นสิ่งแปลกปลอม ใช้นิ้วกวาดเข้าไปในปาก
ไม่เขย่าหรืออุ้มเด็กศีรษะสูง
เด็กอายุมากกว่า1ปี
ทำให้เด็กไอ
เห็นสิ่งแปลกปลอม ใช้นิ้วกวาดเข้าไปในปาก (finger eweep)
เด็กรู้สึกตัว กดรัดกระตุกที่ท้องเหนือสะดือใต้ลิ้นปี่ 6-10 ครั้ง
เด็กไม่รู้สึกตัว (abdominal thrust) จัดท่านอนหงาย ใช้แรงกระแทกระหว่างสะดือกับลิ้นปี่ 6-10 ครั้งแรงพอประมาณ
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ไฟไหม้เสื้อผ้า
ใช้น้ำดับไฟให้เด็กนอนลง ถ้าไม่มีน้ำ ใช้เสื้อหรือผ้าห่มหนาห่อตัวเด็ก (ไม่ใช้ผ้าไนลอน) ตัดเสื้อผ้าที่ไหม้ออก ส่งโรงพยาบาล
ไฟฟ้าดูด
ปิดสะพานไฟ ตัดไฟไม่ได้ยืนบนวัสดุฉนวน เขี่ยสายไฟให้หลุดจากเด็ก
ไม่ผิดปกติ ให้นอนพัก สังเกตอาการ
หมดสติ CPR ส่งโรงพยาบาล
ประเมินความลึกของบาดแผล
ระดับหนึ่ง (First degree burn)
แผลไหม้ชั้นหนังกำพร้า แดง ปวดแสบปวดร้อน เช่น แผลไฟไหม้
การช่วยเหลือคือ ประคบเย็นหรือใช้นํ้าเย็นราด อย่างน้อย 20 นาที ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซ
ระดับสอง(Second degree burn)
ชนิดตื้น (Superficial partial-thickness burn)
ไหม้ชั้นหนังกำพร้าตลอดทั้งชั้น และหนังแท้ (dermis) มีตุ่มพองใส ลอกตุ่มพองออก พื้นแผลสีชมพูชื้นๆ มีนํ้าเหลืองซึม ปวดแสบมาก เช่น น้ำร้อนลวก เปลวไฟ
ใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก (Topical antibiotic) หรือปิดด้วยผลิตภัณฑ์ปิดแผลชนิดต่างๆ
ชนิดลึก (Deep partial-thickness burns)
แผลไหม้ชั้นของหนังแท้ส่วนลึก ไม่ค่อยมีตุ่มพอง แผลสีเหลืองขาว แห้งและไม่ค่อยปวด
การช่วยเหลือคือ ประคบเย็นเช็ดให้แห้งใช้ผ้ากอซปิดไว้ บาดแผลกว้างตั้งแต่ 10-15 ฝ่ามือ ส่งรพ. โดยตัดเสื้อผ้าแล้วใช้ผ้าสะอาดคลุม ยกบาดแผลสูงกว่าหัวใจ ถอดเครื่องประดับ ถ้าหิวน้ำให้ดื่มสารละลายนํ้าตาลเกลือแร่ หรือนํ้าส้มคั้นใส่เกลือครั้งละครึ่งแก้วแล้วทุก ๆ 15 นาที นอนยกขาสูง อาจให้ยาพาราเซตามอลบรรเทาอาการปวด
ระดับสาม (Third degree burn)
แผลไหม้ชั้นหนังแท้หนังกำพร้าทั้งหมด อาจลึกถึงกล้ามเนื้อและกระดูก แผลเป็นสีขาว น้ำตาลไหม้หรือดำ ไม่ปวด ไม่ชา เช่น ไฟไหม้หรือถูกของ
ร้อนนาน ๆ หรือไฟฟ้าแรงสูงช็อต
ทำScrub burn และผ่าตัดปลูกผิวหนัง
สารพิษ
ชนิดของสารพิษ
1.กลุ่มสารตะกั่วเป็นส่วนประกอบ เช่น สีทาบ้าน นํ้ายาเคลือบเงา ถ่านไฟฉาย และแบตเตอรี่รถยนต์ เป็นต้น
กลุ่มสารกัดกร่อน เช่น นํ้ายาล้างสุขภัณฑ์ นํ้ายาล้างห้องนํ้า นํ้ายาซักผ้าขาว เป็นต้น
3.กลุ่มนํ้ายาทำความสะอาดเสื้อผ้า หรือร่างกาย เช่น ผงซักฟอก น้ำยาซักแห้ง สบู่ เป็นต้น
กลุ่มไฮโดรคาร์บอน เช่น นํ้ามันก๊าด นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันสำหรับจุดบุหรี่ เป็นต้น
5.กลุ่มยาฆ่าแมลง เช่น ยาฆ่าแมลงทำลายผัก ผลไม้ ยาฆ่ามด ปลวก เป็นต้น
กลุ่มยารักษาโรคถ้าได้รับเกินขนาด เช่น พาราเซตามอล แอสไพริน มอร์ฟีน แก้แพ้ เป็นต้น
หลักการรักษา
เอาสารพิษออกจากร่างกายให้มากที่สุดและรวดเร็ว
ทำให้อาเจียนโดยการล้วงคอหรือทาน Syrup ipecac ดื่มน้ำตามมากๆ
ข้อห้ามทำให้อาเจียน
หมดสติ หรือกินสารไฮโดรคาร์บอนอาจสำลักเข้าปอดได้
กินสารพิษกรด ด่างเข้มข้น เพราะถ้าอาเจียนจะกัดเนื้อเยื่อทางเดินอาหาร
การล้างกระเพาะอาหาร (Gastric Larvage)
ข้อบ่งชี้
ชัก หมดสติ gag reflex ลดลง
ได้ยา/สารเคมีมีผลต่อสมองทำให้ความรู้สึกตัวลดลงหรือชักได้ในเวลาสั้นๆ หลังทานอาหาร
ได้รับสารพิษกลุ่มไฮโดรคาร์บอนที่เป็นไอระเหยง่าย เช่นน้ำมันก๊าด น้ำมันสน ทินเนอร์ น้ำมันเชื้อเพลิง
ข้อห้าม
กินของมีคม เช่น แก้ว กระจก เทอร์มอมิเตอร์
ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกหรือกระเพาะอาหารทะลุ จากสาเหตุต่างๆเช่นมีแผลผ่าตัดเก่า
ได้รับสารเคมีกัดกร่อน เช่น ฟอร์มาลิน กรด ด่าง ยกเว้น ฟีนอล กรดกัดลายกระจก
การให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ หรือให้ยาที่ทำให้ปัสสาวะเป็นด่าง
เปลี่ยนถ่ายเลือด (blood exchange)
Activated charcoal-singer dose
ไม่ดูดซับสารต่อไปนี้
strong acid and alkali
Alcohol
ส่วนประกอบของธาตุและธาตุหนักเช่น เหล็ก ฟลูออไรด์ และอาเซนิค
Hydrocarbon
Detergent
Lithium
Whole bowel irrigation .ใช้สารละลาย (PEG-ELS) ขับสารพิษทางอุจจาระจนใส
1.ซักประวัติ
ลักษณะคนไข้ อาการที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับสารพิษ
อุบัติเหตุหรือฆ่าตัวตาย
สภาพแวดล้อม บ้าน ที่ทำงาน
สารพิษที่ได้รับ
3.ป้องกันการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกายทำให้เจือจาง หรือเคลือบกระเพาะอาหาร
4.ลดอันตรายของสารพิษโดยให้ยาแก้พิษ
5.ประคับประคองสัญญาณชีพให้คงที่