Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Animal Bites and Poisoning, พิษจากสารเคมี, การได้รับพิษจาก แมงกระพรุน -…
Animal Bites and Poisoning
การถูกสุนัข
หรือแมวกัด
การดูแล
การดูแลบาดแผล
ควรล้างแผลและล้างให้ลึกถึงก้นแผล 15 นาที อย่าให้แผลช้ำ
เช็ดแผลด้วย Providine iodine, Hibitane in water, 70% alcohol
ล้างแผลด้วยน้ำเปล่า ฟอกสบู่หลายๆครั้งทันที
การให้วัคซีน
ก่อนการสัมผัสโรค
ประชาชนทั่วไป
PVRV, CPRV, PCEV, PDEV : 0.5-1ml IM : 2dose Day 0,7
PVRV, CPRV, PCECV, PDEV : 0.1 ml ID : 2dose: Day 0,7/21
ผู้มีปัจจัยเสี่ยง
PVRV, CPRV, PCEV, PDEV : 0.5-1ml IM : 3dose Day 0,7,21/28
PVRV, CPRV, PCECV, PDEV : 0.1 ml ID : 3dose: Day 0,7/21/28
การให้ Rabies Immune Globulin
: RIG
ผลิตจากซีรั่มม้า (ERIG) : 0.5ml(1000IU) ขนาด 40 IU/Kg.
ผลิตจากซีรั่มคน(HRIG) : ขนาด 2ml(300 IU), 5ml(750IU) ขนาดที่ใช้ 20IU/Kg
การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
กรณีเคยรับครบ :
ใช้ Td 1เข็ม ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ
กรณีไม่เคยได้รับ :
ฉีด Td IM 3ครั้ง วันที่0, 1เดือน และ 6เดือน
การให้ยาปฏิชีวนะ
ในผู้ใหญ่
Doxycycline 100 mg. oral b.i.d ac.(3-5d)
Cephalosporins
Amoxicillin 500mg. oral q.i.d (3-5d)
ในเด็ก
12.5 mg./kg. q.i.d. pc. (Maximum 500mg./dose) (3-5d)
Doxycycline 1.1-2.2 mg./kg. oral b.i.d. ac. (Maximum 500mg./dose) (3-5d)
การให้ยาบรรเทาปวด
ผู้ใหญ่ Ibuprofen 400mg. 1tab oral t.i.d. pc.
เด็ก Ibuprofen หัพีย 5-10mg./kg./dose oral t.i.d. pc. หรือ q.i.d. pc
Paracetamol 10-15 mg./kg./dose PRN q 4-6hr.
งูกัด
อาการและ
อาการแสดง
อาการเฉพาะที่
ตุ่มน้ำเลือด(Hemorrhagic bleb)
เลือดออกใต้ผิวหนัง เลือดออกไรฟัน มีไข้ ปวดเมื่อร่างกาย
ตุ่มน้ำพุพอง(Bleb) : งูกะปะ งูแมวเซา งูเห่า
อาการต่อระบบประสาท
พิษต่อระบบโลหิต(Hematotoxin)
พิษต่อระบบประสาท(Neurotoxicity)
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ(Myotocxin)
การวินิจฉัย
มีอาการและอาการแสดงของพิษงู
เห็นรอยเขี้ยว(Frang mark)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กล้ามเนื้อถูกทำลาย
: Serum potassium,SGOT<SGPT<CPK
ตรวจปัสสาวะ
: Hemoglobinuria, Myoglobinuria
ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือด
VCT,PT, APTT
ผู้ป่วยนำงูมาด้วย
การรักษาเบื้องต้น
การรักษาทั่วไป
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
การรักษาในโรงพยาบาล
การให้เซรุ่มต้านพิษงู
Monovalent antivenom :
งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม
งูทับสมิงคลา งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม้
Polyvalent antivenom :
สำหรับงูพิษต่อระบบโลหิต
และงูพิษต่อระบบประสาท
การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
ภาวะแทรกซ้อน
Compartment syndrome
ติดเชื้อแทรกซ้อน ผู้ป่วยที่มีBleb
การเกิดเนื้อตาย
ภาวะไตวาย
การได้รับพิษจากแมลง
ปฏิกิริยาเฉพาะที่
แบ่งเป็น
Typical local reaction
Largr local reaction:LLR
การรักษาเบื้องต้น
สังเกตุบาดแผล ปวด บวม แดง คัน
NSAIDs
Antibiotic
ประคบเย็น
เอาเหล็กในออก
ปฏิกิริยาแพ้รุนแรง(Anaphylaxis)
เกณฑ์การวินิจฉัย
มีอาการมากกว่า
หรือเท่ากับ 2ข้อ
คัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ หอบเหนื่อย Wheezing, Stridor, PEFลดลง
ความดันโลหิตลดลงHypotonia(Collapse) เป็นลม อุจจาระ ปัสสาวะราด
ผื่นลมพิษทั่วตัว คัน ผื่นแดง บวมที่ปาก ลิ้นและเพดานอ่อน
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
ความดันโลหิตลดลงจากการสัมผัสสารแพ้
อาการเกิดขึ้นเฉียบพลัน
ความดันโลหิตลดลง Hypotonia(Collapse) เป็นลม อุจจาระ ปัสสาวะราด
ระบบทางเดินหายใจ :
คัดจมูก น้ำมูกไหล เสียงแหบ
Drug overdose
Paracetamol
อาการ
หลัง24hrs
อาเจียน ปวดท้อง RUQ
ตัวตาเหลือง ตับโต อ่อนเพลีย
24hrs แรก
N/V เบื่ออาหาร
ยาต้านพิษ
N-acetylcysteine(NAC)
Benzodiazepines
อาการ
30min-2hrs ง่วงซึม ตื่นเต้นร่วมด้วย
ระยะหลัง ซึมลง พูดจาวกวน ซึมหมดสติ
ยาต้านพิษ
Flumazenil
พิษจากสารเคมี
Organophosphates
และ carbamates
อาการ
ระยะกึ่งเฉียบพลัน(Subacute)
: 1-2 สัปดาห์แรก กระวนกระวาย ซึมลงจน Coma
ระยะ Chronic :
2-4wks แขนขาอ่อนแรง ชาปลายมือปลายเท้า
ระยะเฉียบพลัน :
2-3d แรก หายใจลำบาก N/V ปวดท้อง น้ำตาไหล
น้ำลายไหล Pช้า BP drop ม่านตาเล็ก ตามัว ปัสสาวะบ่อยกลั้นไม่ได้
ยาต้านพิษ
Pralidoxime(2-PAM)
Atropine
Paraquat
อาการแสดง
ภาวะแทรกซ้อน
Pneumothorax, Subcutaneous emphysema
ได้รับมากกว่า 60ml ผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตภายใน 24-48hrs
24hrs แรก N/V ปวดท้อง ท้องเสีย แผลบวมในปาก
ยาต้านพิษ
ทำ Gastric lavage
ให้ดินเหนียวหรือ Fuller's earth(60gm/bottle) 150 gm ผสมน้ำ 1 L oral
.หรือให้ 7.5% bentonite 100-150 gm
หรือ Activated charcoal 100-150g(2gm/1kg)
ให้ร่วมกับ MOM 30ml q4-6hrs
การได้รับพิษจาก
แมงกระพรุน
การรักษา
ห้ามใช้มือเปล่าจับหนวดแมงกระพรุน
ล้างทำความสะอาดแผล
ไม่ควรทุบ หรือขยี้ ถ้าหนวดติดอยู่รีบเอาออก
รีบล้างด้วยน้ำทะเลหรือน้ำเกลือ
รักษาตามอาการ