Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยปัญหาชุมชน (Community Diagnosis), นส นิลาวรรณ นันต๊ะ เลขที่29…
การวินิจฉัยปัญหาชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหาชุมชน
แนวคิดเกี่ยวกับปัญหาชุมชน
1.ปัญหาชุมชน จะต้องเป็นปัญหาในตัวของมันเอง
2.ปัญหาชุมชนที่ตัวเองไม่ใช่ปัญหา
วิธีระบุปัญหาชุมชน
1.การระบุปัญหาชุมชนโดยใช้หลักของ 5D
2.การระบุปัญหาอนามัยชุมชนโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์
3.การระบุปัญหาชุมชนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
สมาคมสาธารณสุขของอเมริกา ได้กําหนดองค์ประกอบของการพิจารณาการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาไว้ 5 องค์ประกอบคือ
1.1 ระดับของความตระหนักในปัญหาของกลุ่ม ปัญหาแต่ละชุมชนมีขนาดของปัญหา แตกต่างกัน ความรุนแรงแตกต่างกัน ดังนั้นในแต่ละชุมชนจะมีความตระหนักในปัญหาแตกต่างกัน
1.2 จํานวนทรัพยากรที่มีอยู่สําหรับการแก้ปัญหานั้น
1.3 ความสามารถในการแก้ไขปัญหาของผู้เกี่ยวข้อง
1.4 ความต้องการความรู้เฉพาะที่จะนํามาแก้ไขปัญหา
1.5 จํานวนของทรัพยากรที่เกี่ยวข้องที่จําเป็นสําหรับการแก้ปัญหา
รองศาสตราจารย์ นพ.ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร ได้กล่าวถึงองค์ประกอบที่มีส่วน ช่วยในการจัดลําดับปัญหาดังนี้
2.1 อุบัติการณ์ของโรค (Incidence)
2.2 ความชุกของโรค (Prevalence)
2.3 ความรุนแรงของโรค (Virulence of disease)
2.4 การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic loss)
2.5 โรคนั้นป้องกันได้ (Preventability)
2.6 โรคนั้นรักษาและหายได้ (Treat ability)
2.7 ทรัพยากรทางด้านอนามัยและอื่น ๆ (Health and other resources)
2.8 ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (Community concern and participation)
วิธีของภาควิชาบริหารการสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เนื่องจากมีองค์ประกอบที่ง่ายต่อ การตัดสินใจ คํานวณเป็นคะแนนได้ง่ายและไม่ซับซ้อน โดยมีองค์ประกอบ 4 อย่าง แต่ละองค์ประกอบให้8คะแนน 0-4 หรือ 1-5 รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมดแล้วนำมาเรียงลำดับจากคะแนนที่สูงสุดลงมา
วิธีของ 5D
5 D สามารถใช้ในการระบุปัญหาและจัดลําดับความสําคัญของปัญหา โดยใช้หลักการทาง ระบาดวิทยา เกณฑ์ในการพิจารณาได้แก่
Death ได้แก่ จํานวนประชากรที่ตายจากปัญหาหรืออัตราตาย (Mortality rate)
Disability ได้แก่ จํานวนประชากรที่พิการจากปัญหา
Disease ได้แก่ จํานวนประชากรที่ป่วยด้วยโรคจากปัญหาหรืออัตราป่วย (Morbidity rate)
Discomfort ได้แก่ ความรู้สึกไม่สุขสบายของประชาชนในชุมชน
Dissatisfaction ได้แก่ ความรู้สึกไม่พึงพอใจของประชาชนในชุมชนต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
การศึกษาสาเหตุของปัญหาชุมชน
หลังจากที่ได้ปัญหาชุมชน และจัดเรียงลําดับความสําคัญของปัญหาเรียบร้อยแล้ว สิ่งที่ผู้ ดําเนินงานจะต้องค้นหาต่อไปคือ ข้อมูลสนับสนุนปัญหาเพิ่มเติม
เพื่อช่วยให้ผู้ดําเนินงานรู้สาเหตุปัญหา ทําให้สามารถวางแผนแก้ไขปัญหาได้ตรงตามความเป็นจริง
นส นิลาวรรณ นันต๊ะ เลขที่29 602001030