Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, กมลลักษณ์ จันทร์ศิริ 6001210163 เลขที่ 7…
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มี อำนาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์) สำหรับประเทศไทย องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็น มาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค แต่อาจมีข้อยกเว้นในบางกรณี เช่น กรณีของฑูตต่างประเทศซึ่งเข้ามาประจำในประเทศไทยอาจได้รับการยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล ดังนั้นเพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม จึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย หากเกณฑ์ใดไม่มี สภาพบังคับก็ไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
จำคุก
กักขัง
ประหารชีวิต
ปรับ
ริบทรัพย์สิน
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรสทำบุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Common law system)
พระมหากษัตริย์ได้พยายาม สร้างหลักเกณฑ์การพิจารณาคดี เพื่อความเป็นธรรมในกรอบเดียวกัน จนเกิดเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐาน และเป็นกฎหมายจากคำตัดสินของผู้พิพากษา (Judge made law) ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
ประเทศที่ใช้กฎหมายระบบจารีตประเพณี ได้แก่ ประเทศอังกฤษ
มีระบบการพิจารณาพิพากษาคดีที่อาศัย บรรทัดฐานจากคดีที่คล้ายคลึงกัน และผู้พิพากษาคนก่อนๆ ตัดสินคดีเดิมไว้
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
คำพิพากษาของศาลและการตีความของนักปราชญ์ทางกฎหมายจนได้กฎหมายที่ได้รับการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
การพิจารณาคดีของศาลจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่องโดยการตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
คำพิพากษาของศาลเป็นเพียงตัวอย่างในการประยุกต์ กฎหมายกับข้อเท็จจริง
ประเทศต่างๆ ในภาคพื้นยุโรปได้นำหลักเกณฑ์ของระบบนี้มาร่างเป็นประมวลกฎหมาย ของประเทศ เช่น ฝรั่งเศส
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
เป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย
บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
เช่น สหประชาชาติ หรือ เกิดจากความตกลงระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมาย การเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายเอกชน (Private Law)
รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ เอกชน
กฎหมายพาณิชย
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
โดยมีแหล่งกำเนิดจากขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อตกลงหรือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ แบ่งได้ออกเป็น 3 สาขา
แผนกคดีเมือง
ป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน (Public rights and duties)
ทั้งในเรื่องเขตแดน การฑูต การท าสนธิสัญญา หรือกรณีพิพาท ตัวอย่าง กฎหมายแผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่ง เกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
แผนกคดีอาญา
หรือการกระทำผิดที่ต่อเนื่องในหลายประเทศ
ต้องพิจารณาว่าประเทศใดมี อำนาจจับกุมและพิพากษาคดีเพื่อลงโทษบุคคลนั้น
เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดย ประชาชนของประเทศหนึ่ง
เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ
. กฎหมายมหาชน (Public Law)
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
รัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
เป็นกฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
เช่น กฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวิธีสบัญญัต
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
วิธีพิจารณา ความแพ่ง วิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
ความหมายของกฎหมาย
พฤติกรรมของมนุษย์ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม
หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอ านาจก าหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติ
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว
ไม่ว่าจะเป็นคดี แพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง หรือคดีประเภทอื่นๆ ระบบนี้เป็นระบบที่ใช้กันมากที่สุด
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ ได้แก่ กลุ่มประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common Law) เช่น สหราชอาณาจักร
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอ านาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบศาลคู่
ส่วนคดีปกครองแยกให้ศาลปกครองเป็นศาลที่มีอำนาจในการวินิจฉัยคดีดังกล่าว
ข้อพิจารณาของ ระบบศาลคู่ คือ การแยกระบบของผู้พิพากษาและการแยกองค์กรศาลปกครองออกจากระบบศาลยุติธรรม
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา เท่านั้น
ประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่ส่วนใหญ่เป็นประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law) เช่น ฝรั่งเศส
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่ แยกเป็นอิสระจากกัน มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละ ศาลโดยเฉพาะ
จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละคดีได้รับการวินิจฉัย โดยผู้พิพากษาหรือตุลาการที่มีความรู้ความเข้าใจกฎหมายและลักษณะคดีแต่ละประเภทเหล่านั้นเป็นผู้ชี้ขาด ตัดสิน ด้วยวิธีพิจารณาที่เหมาะสม
ปัญหาใดอันเป็นเรื่องสำคัญที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ ย่อมไม่อาจวินิจฉัยโดยศาลธรรมดาได้ ต้องให้ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้วินิจฉัย
ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ศาลยุติธรรม
เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น
ศาลยุติธรรมมีรูปแบบการพิจารณาคดีด้วย “ระบบกล่าวหา” ที่มี ผู้พิพากษาเป็นคนกลางทำหน้าที่ตัดสินคดีความ
เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง
ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น
ศาลชั้นต้น (Civil court/Court in the First instance)
เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณา และชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก
เมื่อมีการฟ้องร้องและน าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
ศาลแพ่ง
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น
ศาลอาญา
อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขต ท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากท้องที่ที่อยู่ในเขตของศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี และศาลจังหวัด มีนบุรี
ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)
ซึ่งการตัดสินคดีของศาลอุทธรณ์จะเป็นไปในลักษณะยืนตาม แก้ไข กลับหรือยกคำพิพากษาของศาล ชั้นต้น
มิใช่เป็นการพิจารณาคดีใหม่ นอกจากนี้ศาลอุทธรณ์ยังมีอ านาจวินิจฉัยชี้ขาดค าร้องขออุทธรณ์ของ คู่กรณี หากคู่กรณียังไม่พอใจคำตัดสินในชั้นอุทธรณ์ สามารถฎีกาได้
มีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน เพื่อพิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
ศาลฎีกา (Supreme Court)
ศาลฎีกามีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์ค าพิพากษา หรือคำสั่งของศาล ชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์แล้วแต่กรณี
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการอุทธรณ์ฎีกา การวินิจฉัยชี้ขาดของ ศาลฎีกาถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง ซึ่งคู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด มีประธานศาลฎีกาซึ่งเป็นประมุข ของตุลาการศาลยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
ศาลปกครอง (Administrative Court)
ทั้งนี้เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและเพื่อสร้าง บรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ
ศาลปกครอง เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของ ตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา
มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมที่มีอ านาจหน้าที่ในการพิจารณา พิพากษาคดีในทางปกครอง ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ
ศาลทหาร
ศาลทหารมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด ตาม กฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร
เป็นของคู่กันมาตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ระบบศาลทหารไทยปรากฏตามกฎหมายลักษณะขบฎศึก
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
เป็นการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์ อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ เพื่อง่ายต่อการศึกษา ค้นคว้า ำไปประยุกต์ ปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมาย
พระราชกำหนด (Royal Enactment)
เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน
ถ้าได้รับอนุมัติจะมีผล บังคับใช้เป็นพระราชบัญญัติต่อไป โดยจะต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นกฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ ฝ่ายบริหาร
พระราชบัญญัติ (พรบ) (Act)
มื่อกฎหมายผ่านขั้นตอนการออกกฎหมายจากรัฐสภา นายกรัฐมนตรีจะนำทูลเกล้าฯ เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย
ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา จึงถือว่ากฎหมายมีผลบังคับใช้
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตร
ออกโดย ฝ่ายบริหารที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของ พระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด
แต่ไม่สามารถมีบทกำหนดโทษ และถ้ากฎหมายแม่บทถูกยกเลิก พระราชกฤษฎีกาจะถูกยกเลิกไปโดยปริยาย
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
วางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
ตลอดจนการรับรองและการส่งเสริมสิทธิหน้าที่ของประชาชนชาวไทย รวมทั้งเป็น กฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ
กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ
ซึ่งกฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้ โดยศาลรัฐธรรมนูญจะเป็น องค์กรที่ชี้ขาดว่ากฎหมายใดขัดแย้งกับกฎหมายแม่บท
เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
ออกฎหมายเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ ในการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัตินั้นๆ โดยไม่ ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา
แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และประกาศในราช กิจจานุเบกษา จึงใช้บังคับกับประชาชนทั่วไป
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ ซึ่งออกตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
กฎหมายลายลักษณ์อักษรมีลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย (Hierarchy of law) ที่แตกต่างกัน โดยการออกกฎหมายที่มีศักดิ์ของกฎหมายต่ำกว่าจะออกได้โดยอาศัยอำนาจจากกฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าหรือต้องมีเนื้อหาไม่เกินขอบเขตอำนาจที่ให้ไว้ หากเนื้อหาของกฎหมายขัดแย้งกันต้องใช้กฎหมายที่มีศักดิ์สูงกว่าบังคับ
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline
ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
เพื่อกำหนดรายละเอียดวิธี ปฏิบัติงาน โดยอาศัยตามพระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้า หน่วยงานองค์กร
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
แนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน โดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ
เพื่อปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้า หน่วยงาน
กมลลักษณ์ จันทร์ศิริ 6001210163 เลขที่ 7 Sec A