Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย cu_021262_00112, นางสาวจุฑามาศ ดำแดงดี …
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย :red_flag:
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ
ที่รัฐ หรือผู้มีอานาจกำหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติ
ลักษณะของกฎหมาย และประเภทของกฎหมาย :star:
ลักษณะของกฎหมาย
มีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กำหนดขึ้นโดยรัฐ หรือผู้มีอำนาจ
บังคับใช้โดยทั่วไป
มีสภาพบังคับ
1) ประหารชีวิต
2) จำคุก
3) กักขัง
4) ปรับ
ถ้าเด็ก หรือเยาวชนไม่ชาระค่าปรับ จะกักขังแทนค่าปรับไม่ได้
แต่ให้ส่งตัวไปเพื่อควบคุม และอบรม เช่น ในสถานพินิจ
5) ริบทรัพย์สิน
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
เป็นกฎหมายจากคำตัดสินของผู้พิพากษาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ใช้
คาพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย
ระบบประมวลกฎหมาย หรือระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร
พิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่อง
โดยการตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม อิตาลี เยอรมัน เดนมาร์ก ออสเตรีย สเปน สวิสเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น ไทย :!!: จีน ใช้
รัฐสภาเป็นผู้ออกกฎหมาย
ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายเอกชน
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
แบ่งโดยแหล่งกาเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย
กฎหมายภายนอก
บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
แบ่งโดยเจตนารมณ์ และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายสาธารณะสุข :!!:
กฎหมายอุตสาหกรรม
แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิทธิ หรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายอาญา
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
วิธีพิจารณาความแพ่ง
วิธีพิจารณาความอาญา
แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
ลำดับชั้น หรือศักดิ์ของกฎหมาย :<3:
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
มีศักดิ์สูงสุด กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ
กฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย
อยู่ในลำดับชั้นเดียวกัน และรองจากรัฐธรรมนูญ
2.1 พระราชบัญญัติ (พรบ.) (Act)
ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ หรือรัฐสภา
ผู้ที่สามารถเสนอร่างกฎหมายนี้ คือ คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา จึงถือว่ากฎหมายมีผลบังคับใช้
2.2 ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
เป็นการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน
ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
2.3 พระราชกำหนด (Royal Enactment)
รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน
เมื่อประกาศใช้แล้ว คณะรัฐมนตรีต้องเสนอพระราชกำหนดนั้นต่อรัฐสภา
ถ้าได้รับอนุมัติจะมีผลบังคับใช้เป็นพระราชบัญญัติต่อไป
โดยจะต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
ออกโดยฝ่ายบริหารที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ หรือพระราชบัญญัติ
ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ
มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป
แต่ไม่สามารถมีบทกำหนดโทษ
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
ออกโดยฝ่ายบริหาร
ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา
แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จึงใช้บังคับกับประชาชนทั่วไป
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน หรือคณะกรรมการ
ประกาศ และคำสั่ง (Announcement/Command)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
ลักษณะของระบบศาลไทย :pencil2:
ระบบศาลเดี่ยว
ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ เช่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
ระบบศาลคู่
ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่ง และคดีอาญาเท่านั้น
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ เช่น ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ไทย :!!:
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ
แต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
พิจารณาคดีด้วย “ระบบกล่าวหา” มีโจทย์ มีจำเลย
มีผู้พิพากษาเป็นคนกลางทำหน้าที่ตัดสินคดีความ
2.1 ศาลชั้นต้น
แพ่ง
พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวง
ในกรณีที่มีการยื่นฟ้องคดีต่อศาลแพ่ง
อาญา
พิพากษาคดีอาญาทั้งปวง
ศาลอาญาที่จะไม่ยอมรับพิจารณาพิพากษาคดีใดคดีหนึ่งที่ยื่นฟ้องเช่นนั้นก็ได้
2.2 ศาลอุทธรณ์
ลำดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์จะเป็นไปในลักษณะยืนตาม แก้ไข กลับหรือยกคาพิพากษาของศาลชั้นต้น
มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดคาร้องขออุทธรณ์ของคู่กรณี
2.3 ศาลฎีกา
ศาลยุติธรรมสูงสุด
การวินิจฉัยชี้ขาดของศาลฎีกาถือเป็นที่สุด หรือเป็นคดีแดง
คู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
ศาลปกครอง
เพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
เพื่อสร้างบรรทัดฐานที่ถูกต้องในการปฏิบัติราชการ
รูปแบบการพิจารณาคดีใช้ "ระบบไต่สวน” ไม่ต้องมีผู้ร้องเรียน
เป็นผู้ค้นหาความจริงด้วยตนเอง
ศาลทหาร
พิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด
นางสาวจุฑามาศ ดำแดงดี 6001210781 เลขที่ 39 Sec. A