Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8.2 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน, images (1), unnamed, PPI…
บทที่8.2 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
หัวนมแตกหรือหัวนมเป็นแผล
สาเหตุ
1.Colostrumที่ถูกบีบออกมาหรือซึมผ่านหัวนมจะแข็งจับปลายหัวนมจนเป็นสะเก็ดการแกะจะทำให้เกิดแผลถลอกขึ้นได้
2.ทารกดูดนมแรงและนานเกินไปในระยะแรกเริ่มก่อนน้ำนมมา
3.การให้บุตรดูดเฉพาะหัวนมโดยไม่ได้ให้เหงือกของทารกกดบนลานนม
4.การให้บุตรดูดนมแต่ละครั้งเริ่มให้ข้างเดียวกันตลอดจึงทำให้ดูดเป็นเวลานาน
5.การดึงหัวนมออกจากปากบุตรไม่ถูกวิธี
6 ปล่อยให้หัวนมเปียกชื้นอยู่ตลอดเวลา
การรักษา
ทายา
unquentum boric acid
lanolin
kamillosan cream
การพยาบาล
กิจกรรมทางการพยาบาล
5.หลังการให้ทารกดูดนมแต่ละครั้งควรเช็ดหัวนมให้สะอาด
6.ถ้าใช้น้ำนมทาคือบีบน้ำนมออกเล็กน้อยแล้วทาหัวนมและรอบๆแล้วปล่อยให้แห้งจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
7.ถ้าเป็นรุนแรงอาจให้ทารกดูดนมโดยใช้ nipple shield
8.ดูแลผิวหนังบริเวณหัวนมและเต้านมให้ชุ่มชื่นด้วยการทาครีม
แนะนำทำความสะอาดหัวนมและเต้านมด้วยการอาบน้ำธรรมดาและลานนมด้วยสารคายเคืองอื่น
4.แนะนำวิธีให้นมบุตรโดยให้บุตรอมหัวนมให้มิดและให้ลิ้นอยู่ใต้ลานนมให้เหงือกกดบริเวณลานนมในระยะแรกให้นมแต่ละข้างไม่เกิน 3 - 5 นาที ในระยะหลังไม่ให้บุตรอมหัวนมขณะหลับหรือดูดนมนานใช้นิ้วกดค้างบุตรเพื่อช่วยให้อ้าปากแล้วจึงหัวนมออกจากปาก
3.แนะนำให้มารดาอุ้มบุตรให้นมในท่าที่ผ่อนคลายประคับประคองศีรษะให้กระชับอกขณะให้นมบุตร
2.แนะนำมารดาให้ทารกดูดนมข้างที่เจ็บน้อยก่อนจะช่วยให้เกิด letdown reflex และทารกไม่ดูดแรงมาก
การประเมินผล
ผิวหนังที่หัวนมและลานนมและเต้านมยืดหยุ่น
ทารกได้รับนมอย่างเพียงพอ
หญิงหลังคลอดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
การติดเชื้อของเต้านม (Mastitis)
การวินิจฉัย
บริเวณเต้านมแดง ร้อน แข็งตึงใหญ่
ปวดเต้านมมาก กดเจ็บ
การคั่งของน้ำนมน้ำนมออกน้อยลง
มีไข้สูง 38.5 3-40 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บลดลง
หญิงหลังคลอดสามารถเลี้ยงบุตรได้ด้วยนมมารดา
กิจกรรมทางการพยาบาล
ลดการกระตุ้นเต้านมหรือหัวนมบริเวณที่มีการติดเชื้อ ใช้ความร้อนเป่า
แนะนำการสวมเสื้อชั้นในหรือพันผ้า ช่วยพยุงเต้านม
ดูดนมข้างที่มีการติดเชื้อจนกว่าการอักเสบจะหาย
ลดความกลัวความวิตกกังวลให้กำลังใจโดยอธิบายให้ทราบถึงการปฏิบัติตัวถูกต้องเมื่อมีภาวะติดเชื้อของเต้านม
แนะนำการทำความสะอาดหัวนมให้เพียงพอและให้ทารกดูดนมอย่างถูกต้องในค่าปกติ
สาเหตุ
เชื้อเข้าทางบาดแผลหรือหัวนมที่แตก
ไม่ได้ล้างมือให้สะอาดก่อนสัมผัสเต้านม
เกิดจากเชื้อ staphylococcus aureus
จากการติดเชื้อที่อยู่ภายในจมูกและลำคอทารก
การรักษา
ตรวจดูอาการและการแสดงส่งเพาะเชื้อจากน้ำนมและหัวนมบางครั้งอาจต้องเพาะเชื้อจากในปากทารกด้วยเพื่อให้ยาปฏิชีวนะตรงตามชนิดของเชื้อ
เมื่อแผลที่หัวนมหายเป็นปกติก็เริ่มให้บุตรดูดนมหรือปั๊มนมได้และพยายามหลีกเลี่ยงมีให้เกิดอาการบวม
ให้ยาแก้ปวด
ถ้ามีหนองเกิดขึ้นให้ทำ incision and drainag
โรคจิตหลังคลอด(Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย
สับสนไม่มีเหตุผล
นอนไม่หลับ
สมาธิสั้นความจำเสีย
รู้สึกยุ่งยากใจกระสับกระส่าย
ตัดสินใจไม่ได้
หลงผิดว่าระแวง
ประสาทหลอน
สาเหตุ
มารดามีภาวะเครียดจากการตั้งครรภ์
มารดามีบุคลิกภาพแปรปรวนอยู่ก่อนการตั้งครรภ์
มีประวัติ manic-depressive
มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัวโดยโรคทางจิตเวช
มีการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกายตลอดระยะการตั้งครรภ์
มารดามีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
การรักษา
การรักษาทางกาย
การให้antipsyhoticsและยาsedative,การช็อตไฟฟ้า
การรักษาทางจิต
การทำจิตบำบัด
การรักษาโดยการแก้ไขสิ่งแวดล้อม
การให้มีการสนับสนุนทางสังคมโดยเฉพาะสามีและญาติช่วยในการดูแลแบ่งเบาภาระ
การประเมินผล
2.ทารกแรกเกิดได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพจากบิดาหรือญาติในขณะมารดายังไม่สามารถให้การดูแลได้
3.มารดามีสุขภาพที่ดีและสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้เอง
1.มารดาบิดาทารกได้รับการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างกัน
การพยาบาล
7.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
8.สังเกตอาการที่อาจรุนแรงมากขึ้น ให้ความสนใจทุกกิจกรรมและคำพูด
6.ส่งเสริมให้มารดาของหญิงตั้งครรภ์หลังคลอดให้การดูแลใกล้ชิดแสดงบทบาทการเป็นมารดาและให้กำลังใจ
9.ในรายที่มีประวัติซึมเศร้าหรือภาวะโรคจิตหลังคลอดหรืออาการรุนแรงควรส่งต่อเพื่อให้คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่ทางสุขภาพจิต
5.อธิบายให้สามีและญาติเข้าใจและทราบถึงวิธีการรักษา
10.การดูแลต่อที่บ้านสามีของหญิงหลังคลอดเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดพยาบาลควรให้ความช่วยเหลือประคับประคองด้านจิตใจให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคการรักษาและเป็นที่ปรึกษาในการดูแลทารก
4.ส่งเสริมและกระตุ้นให้เข้ากลุ่มจิตบำบัดเมื่อมีความพร้อม
3.ฟังหญิงหลังคลอดให้ระบายความรู้สึกและปัญหาที่มี
2.ให้ความเป็นกันเองความใกล้ชิด
1.ดูแลให้ได้รับความต้องการพื้นฐานประจำวันโดยส่งเสริมกระตุ้นให้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด(Postpartum depression)
สาเหตุ
ขาดสัมพันธภาพกับบิดามารดาหรือคู่สมรส
มีความรู้สึกขาดความพึงพอใจในตนเอง
ขาดการประคับประคองจัดญาติคู่สมรสหรือสังคม
มีความเครียดทางจิตใจ
มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่ายในการตั้งครรภ์
ประสบการณ์การคลอดลำบากการบาดเจ็บจากการคลอดหรือมีปัญหาระยะหลังคลอด
มารดาที่มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอดหรือมีภาวะเจ็บป่วยหลังคลอด
มีความเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
มารดาหลังคลอดครรภ์แรก
มีประสบการณ์จากการคลอดในครรภ์ก่อนๆไม่ดี
การรักษา
การรักษาทางจิตแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
การใช้ยากลุ่มช่วยในการรักษาหรือให้คู่สมรสในครอบครัวมีส่วนร่วม
การให้ยา
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สนับสนุนให้สร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแก่หญิงหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้มารดาหลังคลอดได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ให้มารดาได้รับความสุขสบายด้านร่างกายบรรเทาอาการเจ็บปวด
อธิบายให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจหลังคลอด
ดูแลช่วยเหลือให้คำแนะนำการปฏิบัติตนในระยะหลังคลอดและการเลี้ยงบุตร
ให้โอกาสหญิงหลังคลอดได้ซักถามและมีส่วนร่วมในการเตรียมตัว
ส่งเสริมให้กำลังใจมารดารู้สึกว่าเป็นบุคคลสำคัญในการดูแลทารก
รายงานแพทย์เพื่อส่งต่อเมื่อมีอาการรุนแรง
แนะนำสามีและญาติให้กำลังใจแก่มารดาให้ความสนใจเอาใจใส่ประคับประคอง
จัดกลุ่มสอนเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตรหลังคลอดบทบาทการเป็นบิดามารดา
อธิบายให้ทราบถึงอาการแสดงของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
สังเกตอาการดูแลอย่างใกล้ชิด
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 3 อาจเกิดได้ในระยะเวลา 1 ปีหลังคลอด
เกิดจากการที่หญิงหลังคลอดได้พยายามปรับตัวแล้ว แต่ยังรู้สึกสองฝักสองฝ่ายต่อการเป็นมารดา อยากทำหน้าที่ให้ดีที่สุดแต่ยังมีความอ่อนล้าทำให้เกิดอารมณ์แปรปรวนไม่คงที่มีความรู้สึกว่าตนเองไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลในครอบครัวทำให้เกิดความน้อยใจเป็นอย่างมาก
ระยะที่ 1 เกิดในระยะแรกหลังคลอดวันที่ 3 ถึง 10
มีอาการซึมเศร้าเสียใจเสียเกิดความตื่นเต้นในการคลอด
ระยะที่ 2 เกิดในช่วง 1-3 เดือนหลังคลอด
หญิงหลังคลอดต้องมีการปรับตัวในบทบาทของการเป็นมารดา การเลี้ยงดูบุตรพยายามรวมทารกเข้าเป็นสมาชิกในครอบครัว ในขณะที่ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในระยะหลังคลอดมีอาการอ่อนเพลียทำให้เกิดการหงุดหงิดอย่างมาก
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
อาการและอาการแสดง
มีอารมณ์เศร้าเหงาสับสนอารมณ์รุนแรง
สีหน้าไม่สุขสบาย
ตื่นเต้นความรู้สึกไวเงียบ ขรึม
อาการจะเป็นอยู่ในช่วงเวลาสั้นๆหลังคลอด
มีความรู้สึกวิตกกังวลท้อแท้
อ่อนเพลียนอนไม่หลับ
ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ
เบื่ออาหาร
3 ความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
4 ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อมเกิดจากความตระหนักกับความรู้สึกของคนอื่น
2 การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อจากการมีฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนลดลงอย่างรวดเร็วในระยะหลังคลอดร่วมกับมีระดับคอร์ติซอลและโปรแลคตินเพิ่มขึ้น
5 หญิงหลังคลอดมีแนวโน้มในการเกิดอารมณ์ซึมเศร้าหลังคลอดได้แก่
1 การตั้งครรภ์และการคลอดโดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์แรกหรือมีภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
3.คอยสังเกตและบันทึกอาการด้านอารมณ์ของมารดาหลังคลอด
1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลบุตรและตนเองในระยะหลังคลอด
2.ส่งเสริมให้บุคคลในครอบครัวโดยเฉพาะคู่สมรสช่วยให้กำลังใจประคับประคองช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆในระยะหลังคลอด
นางสาวธิดารัตน์ แพงวงษ์ รหัส 602701032