Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว (FamilyDevelopment Theory), นางสาว อารดา กอหลัง…
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว
(FamilyDevelopment Theory
)
ครอบครัวระยะเริ่มต้น
(marital stage)
1.1 พันธกิจครอบครัว
4) สร้างความพึงพอใจ :pencil2:
สัมพันธภาพทางเพศให้คงอยู่ตลอดไป
5) สร้าง
ระบบการสื่อสารที่ดี ใช้สติปัญญา มีเหตุผล และ
ซื่อสัตย์ต่อกัน :pencil2:
6) สร้างสัมพันธภาพกับเครือญาติ :pencil2:
7) สร้างวิถีทางการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น :pencil2:
1) จัดเตรียมที่อยู่อาศัย :pencil2:
8) วางแผนการมีบุตร :pencil2:
9) สร้างปรัชญาชีวิต
ร่วมกัน :pencil2:
2) สร้างระบบต่าง ๆ
ร่วมกัน เช่น ระบบการใช้จ่ายเงิน :pencil2:
3) ปรับตัว
เข้าหากันและยอมรับพฤติกรรมและปรับบทบาทหน้าที่ใหม่ในครอบครัว :pencil2:
1.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลจะต้องแสดงบทบาทผู้ให้ความรู้ให้คำปรึกษากับครอบครัว :pencil2:
ครอบครัวระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร
(early childbearing families)
2.1 พันธกิจครอบครัว ประกอบ
ด้วย
1) เตรียมการจัดการสําหรับการเลี้ยงดูบุตร :lock:
4) ปรับแบบแผนการมีเพศสัมพันธ์ :lock:
2) พัฒนารูปแบบการหารายได้และการใช้จ่าย
เงินใหม่ :lock:
3) ปรับบทบาทความรับผิดชอบในการ
ทํางานใหม่ :lock:
5) ขยายระบบการสื่อสารในปัจจุบันโดยเฉพาะ
การตอบสนองความต้องการทางด้านอารมณ์ :lock:
6) ปรับความสัมพันธ์กับเครือญาติ :lock:
7) ปรับความ
สัมพันธ์กับผู้อื่น ชุมชน สังคม :unlock:
8) แสวงหาความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ :lock:
2.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลจะต้องแสดงบทบาทผู้ให้ความรู้พร้อมทั้งให้คำปรึกษา :lock:
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน
(families with preschool children)
3.1 พันธกิจครอบครัว ประกอบด้วย
1) จัดเตรียมสถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวกเครื่องใช้ให้เพียงพอสําหรับสมาชิกในครอบครัว :silhouette:
2) วางแผนปรึกษาเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย
ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น :silhouette:
3.ร่วมกันรับผิดชอบ
เกี่ยวกับการขยายตัวของครอบครัวและการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการของสมาชิกในครอบครัว :silhouette:
4) รักษาความ
พึงพอใจในสัมพันธภาพทางเพศ :silhouette:
5) รักษาระบบ
สื่อสารที่มีประสิทธิภาพในครอบครัว :silhouette:
6) รักษา
ความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติกับครอบครัว :silhouette:
7) จัดสรรทรัพยากรตอบสนองความต้องการ
ของสมาชิก มีความสัมพันธ์กับสังคมภายนอกครอบครัว :silhouette:
8) เผชิญปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
อย่างท้าทาย :silhouette:
3.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลจะต้องแสดงบทบาทการเป็นผู้ค้นหาเกี่ยว
กับพัฒนาการและการเจริญเติบโตของบุตรวัยก่อนเรียน :silhouette:
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยเรียน
(Families with school children)
4.1 พันธกิจครอบครัว
3) ให้ความร่วมมือประสาน
งานในการทํากิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะโรงเรียน :pencil2:
4) ใช้ระบบการสื่อสารในครอบครัวอย่างมี
ประสิทธิภาพ :pencil2:
2) รักษาสถานภาพทาง
เศรษฐกิจให้มั่นคง :pencil2:
5) ยังคงรักษาความพึงพอใจของ
แต่ละบุคคลรวมทั้งคู่สมรส :pencil2:
1) เตรียมการสําหรับกิจกรรมของเด็ก และความ
เป็นส่วนตัวของพ่อแม่ :pencil2:
6) มีความรู้สึกใกล้ชิด
ผูกพันกับญาติของครอบครัว :pencil2:
7) เชื่อมโยง
ครอบครัวกับสังคมภายนอก :pencil2:
8) ทดสอบและตรวจ
สอบปรัชญาของครอบครัวอีกครั้ง :pencil2:
4.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลเป็นผู้ให้คําปรึกษาแก่ครอบครัวในการ
ปฏิบัติเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กการป้องกัน
ปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ปัญหาการเรียน พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้ :pencil2:
ครอบครัวระยะมีบุตรวัยรุ่น
(families with teenagers)
5.1 พันธกิจของครอบครัว ประกอบ
ด้วย
4) ให้ความสําคัญต่อสัมพันธภาพ
ที่ดีระหว่างสามีและภรรยา :lock:
5) รักษาระบบการ
สื่อสารที่ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน :lock:
3) ร่วมกันทําหน้าที่และรับผิดชอบการดําเนินชีวิต
ของครอบครัว :lock:
6) รักษาความสัมพันธ์กับเครือญาติ :lock:
2) คิดคํานวณ
เงินรายได้ของครอบครัว เพื่อวางแผนการใช้จ่าย :lock:
7) เติบโตเป็นตัวของตัวเองอยู่ในครอบครัวและสังคมภายนอก
อย่างมีความสุข :unlock:
1) อํานวยความสะดวกตามความต้องการที่
แตกต่างกันของสมาชิกครอบครัว :lock:
8)ดําเนินวิถีชีวิตตามปรัชญา
การดําเนินชีวิต :lock:
5.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลจะต้องแสดงบทบาทผู้ให้ความรู้ พร้อม
ทั้งแสดงบทบาทผู้ให้คําปรึกษาแก่ครอบครัวในประเด็นการช่วยให้ครอบครัวเข้าใจเด็กวัยรุ่น
และมีทักษะการสื่อสารที่ดี
:lock:
ครอบครัวระยะมีบุตรแยกจาก
ครอบครัว (launching center families)
6.1 พันธกิจของครอบครัว ประกอบ
ด้วย
4) พ่อแม่จะย้อนกลับมาด้วย
กันเพียงสองคน คือ สามีและภรรยา :pencil2:
5) คงรักษา
ระบบการสื่อสารที่ดีมีความสัมพันธ์ที่ดีภายในครอบครัวเเละครอบครัวใหม่ของบุตร :pencil2:
3) แบ่งบทบาทความรับผิดชอบใหม่
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในครอบครัวรับบทบาทเป็น ปู่ ย่า ตา ยาย :pencil2:
ุ6) สร้างความปรองดองเมื่อ
เกิดความคับข้องใจในเรื่องความซื่อสัตย์และปรัชญาในการดำเนินชีวิต :pencil2:
2) ค่าใช้จ่ายสําหรับการที่บุตรย้ายครอบครัวไป :pencil2:
1) จัดสิ่งอํานวยความสะดวกทางกายภาพ
และทรัพยากรตามการเปลี่ยนแปลงของครอบครัวให้เหมาะสม : :pencil2:
6.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลจะต้องแสดงบทบาทการเป็นผู้ค้นหาเกี่ยว
กับภาวะซึมเศร้า การพลัดพรากจากบุตรเเละความวิตกกังวล :pencil2:
ครอบครัวระยะวัยกลางคน
(families of middle years)
7.1 พัฒนกิจของครอบครัว ประกอบ
ด้วย
3) รับผิดชอบต่อ
ครอบครัว :pen:
4 สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อคู่สมรสให้มี
ความผูกพันใกล้ชิดให้เกิดความรู้สึกเป็นเพื่อน
พึ่งพาอาศัยกันเเละกัน :pen:
2) วางแผนเพื่อ
ความมั่นคงของชีวิตในบั้นปลาย : :pen:
5) มีสัมพันธภาพที่ดีกับ
ครอบครัวใหม่ของบุตร :pen:
1) ดูแลรักษาบ้านให้น่าอยู่ :pen:
6) คงความสัมพันธ์ที่ดี
กับเครือญาติโดยเฉพาะพ่อแม่ที่สูงอายุ :pen:
7) เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนสังคมเพิ่มมากขึ้น :pen:
7.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
1) การส่ง
เสริมสุขภาพ :pen:
2) ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพที่ดีของสามีภรรยา :pen:
3) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการ
สื่อสาร มีสัมพันธภาพที่ดีกับบุตร บุตรเขย-บุตรสะใภ้ หลานและพ่อแม่วัยชรา : :pen:
4) จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
ป้องกันอุบัติเหตุ :pen:
ครอบครัวระยะวัยชรา
(Aging families)
8.1 พันธกิจครอบครัว ประกอบด้วย
1) เตรียมที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับการเปลี่ยน
แปลงตามวัย :star:
2) ปรับการใช้จ่ายให้เหมาะสม
ภายหลังการเกษียณ :star:
3) สร้างความสะดวกสบาย
ในการดําเนินชีวิต :star:
4) ดูแลกันระหว่างสามีภรรยา :star:
5) เตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับการสูญเสียคู่ชีวิต :star:
6) คงรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกับบุตรหลาน :star:
7) ดูแลญาติที่สูงอายุ :star:
8.2 บทบาทของพยาบาลครอบครัว
พยาบาลควรมีบทบาทเป็นผู้ให้บริการ สนับสนุน
ในการช่วยเหลือให้ครอบครัวสามารถเผชิญภาวะเปลี่ยนเเปลงการสูญเสียได้อย่างเหมาะสม :star:
ได้แบ่งพัฒนาการ
ครอบครัวออกเป็น 8 ระยะ ดังนี้
นางสาว อารดา กอหลัง รหัสนักศึกษา 6101110801101