Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่ปัญหาเซลเจริญผิดที่, นางสาวจันทิมา สุวรรณรัตน์ เลขที่ 19…
การพยาบาลเด็กที่ปัญหาเซลเจริญผิดที่
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
(acute lymphoblastic leaukemia
หมายถึง
หมายถึง มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(Stem cell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow) เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
ส่งผลให้จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่ว
ร่างกายทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือดลดลง
ผู้ป่วยจึงเกิดอาการซีด เลือดออก และติดเชื้อได้ง่าย
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML (Acute myelogenous leukemia
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL (Chronic lymphocytic leukemia
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL (Acute lymphoblastic leukemia
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML (Chronic myelogenous leukemia
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
อาจเกิดจากการได้รับสารเคมีต่างๆ ที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อม
หรือจากควันบุหรี่และการสูบบุหรี่
ส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่เกี่ยวข้อง
อาการ
อาการแรกที่เป็น คือ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย เพราะมะเร็งเม็ดเลือดขาวจะมีเกร็ดเลือดต่ำ จึงทำให้
เลือดออกง่าย
ติดเชื้อง่าย มีไข้ เป็นอาการสำคัญที่มักจะมารับการรักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
ภายในอวัยวะเหล่านี้ ประกอบไปด้วยน้ าเหลือง
ซึ่งมีหน้าที่น าสารอาหาร และเซลล์เม็ดเลือดขาว
(Lymphocyte) ไปยังส่วนต่างๆทั่วร่างกาย
ประกอบประด้วยอวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ได้แก่ ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส,
การวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
การตรวจไขกระดูก เพื่อประเมินว่ามีการกระจายเข้าไปในไขกระดูกหรือไม่
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan
อาการ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ เช่น คอ รักแร้ ขาหนีบ หรือเต้านม แต่จะไม่มีอาการเจ็บ ซึ่งต่างจากการติดเชื้อที่มักจะมีอาการเจ็บที่ก้อน
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ปวดศีรษะ (พบในมะเร็งต่อมน้ าเหลืองในระบบประสาท)
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ าเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง
ผู้ป่วยจะมีอาการแน่นท้อง
แนวทางการรักษาในปัจจุบัน
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด (Transplantation)
การใช้ยาเคมีบ้าบัด (Chemotherapy)
มะเร็งไต Wilm Tumor
หมายถึง ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการ
เจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาดใหญ่ และคล าได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
Neuroblastoma
เป็นเนื้องอกที่มีต้นก าเนิดมาจากเซลล์ของระบบประสาท(Neural crest) สามารถเกิดบริเวณใดก็ได้ที่มีเนื้อเยื่อ Sympathetic nerve ได้แก่ ต่อมหมวกไต(adrenal gland) ในช่องท้อง เป็นต้น
อาการนำที่มาพบแพทย์ ได้แก่ มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง อาการอื่นๆ ได้แก่ ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก ตำแหน่ง ที่พบก้อนครั้งแรกมากที่สุดคือต่อมหมวกไต
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
ระยะรักษาเคมีบำบัด
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation
phase)
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS
prophylaxis phase)
ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase)
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or
continuation therapy)
การรักษาประคับประคอง
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด หากผู้ป่วยมีเลือดออกจาก
จ านวนเกร็ดเลือดต่ำ จำเป็นต้องให้เกร็ดเลือดก่อน
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
ยาเคมีที่ใช้บ่อย
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemiaโดยยับยั้งการสร้าง
DNA และRNA และมีฤทธิ์กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cyclophosphamide รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยออกฤทธิ์จับ
Cytarabine(ARA-C) รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic
leukemia (ALL)โดยจะขัดขวางการสร้าง DNA
Mesna ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะ
อักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษามะเร็งได้แก่
Ondasetron(onsia) ป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนใน
ผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบเลือด ทำให้ไขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่างๆ
1.1 เม็ดเลือดแดง : RBC ผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีภาวะซีด (Anemia)
1.2 เม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia) ประเมินได้จากค่า ANC : absolute neutrophil count
เป็น 3 ระดับ
เม็ดเลือดขาวต่ าปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ ารุนแรง ANC ต่ ากว่า 500 เซลล์/ลบ.มม.ผู้ป่วยจะเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่รุนแรง
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.เป็นภาวะที่เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย
1.3 เกร็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีเกล็ดเลือดน้อยกว่า 100,000/mm3
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร ท าให้มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง
ผลต่อระบบผิวหนัง ท าให้ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์และจะงอกขึ้นมาใหม่หลังหยุดยา
2-3 เดือน หรือบางต าราบอกว่า 5 เดือน ลักษณะผมที่ขึ้นมาใหม่จะไม่เหมือนเดิม สี ความหนา ความยืดหยุ่น
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินปัสสาวะ ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไต ยาบาง
ชนิดก็มีฤทธิ์ทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ
ตับ ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับ
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบ าบัด
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT) เป็นการให้ยาเคมบำบัดผ่านเข้าในช่องไขสันหลัง
ค่าปกติของน้ าตาลใน CSF (50-80 mg/dl)หรือ เท่ากับ 60-70% ของค่าใน serum ถ้าต่ ากว่า 40
mg/dl หรือ 40% ของน้ าตาลในกระแสเลือด ค่าปกติของโปรตีน 12-60 mg/dl
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก ปัญหาการเกิดแผลในปากเกิดขึ้นเนื่องจาก Cell เยื่อบุช่องปาก
ถูกทำลายด้วยยาเคมีบำบัด ส่งผลทำให้ไม่มีเยื่อบุช่องปากที่จะคอยป้องกันการติดเชื้อ จึงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
3 รับประทานอาหารที่สุกใหม่ Low Bacterial Dietโดยให้มีคุณค่าครบถ้วน แคลอรีและโปรตีนสูง งด
อาหารที่ลวก ย่าง รวมทั้งผักสด ผลไม้ที่มีเปลือกบาง
4.การดูแลปัญหาซีด ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะเกิดภาวะแทรกซ้อนคือไขกระดูกถูกกด มีผลต่อ
การสร้างเม็ดเลือดทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ถ้าเม็ดเลือดแดงลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะซีด
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก เนื่องจากการสร้างเกร็ดเลือดลดลง ผู้ป่วยจึงเสี่ยงเลือดออก ง่ายหยุดยา แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration หลักการให้คือให้หมดภายใน 1⁄2 -1 ชั่วโมง เนื่องจากมี half life สั่น การให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
Tumorlysis Syndrome : TLS
TLS เกิดจากการสลายของเซลล์มะเร็งจำนวนมากอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นผลจากการได้รับยา
เคมีบำบัดครั้งแรก
สาเหตุ และ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิด TLS
เกิดขึ้นบ่อยที่สุดระหว่างการรักษามะเร็งด้วยยาเคมีบำบัด (chemotherapy) แต่อาจพบระหว่างที่ผู้ป่วย
ได้รับรังสีรักษา (radiotherapy) หรือ อาจเกิดขึ้นเองก็ได้ TLS
ความผิดปกติของ electrolyte ที่พบบ่อยได้แก่
1.ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง มักพบในช่วง 12-24 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง และมัก
พบความผิดปกติแรกที่สังเกตได้ใน TLS
2.ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง มักพบในช่วง 24-48 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง โดยเป็น
สาเหตุที่เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำตามมา
3.ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง มักพบในช่วง 48 – 72 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง ซึ่งเกิดจาก
การสลายของกรดนิวคลีอิก
อาการ
โดยทั่วไปมักพบอาการทางระบบทางเดินอาหาร ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงอาจพบภาวะง่วงซึม (lethargy)และ
อาการและอาการแสดงของภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตัน (obstructive uropathy) หรือไตวาย ภาวะโพแทสเซียม ในเลือดสูง อาจพบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ช้า (paresthesia) หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะ neutropenia
สาเหตุ อาจจะเกิดขึ้นได้จากโรคมะเร็งเองพบได้ในผู้ป่วยลิวคีเมีย (acute leukemia) ที่มี
เซลล์มะเร็งในกระแสเลือดมากมีผลให้จ านวนเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล (neutrophils)
การใช้ยาต้านเชื้อรา (antifungal therapy)
ผู้ป่วยที่มีภาวะนิวโทรพีเนียนานกว่า 1 สัปดาห์ มีโอกาสเกิด systemic fungal infectionสูง ดังนั้นผู้ป่วย
ที่มี febrile neutropenia นานกว่า 5 วันและไม่มีแนวโน้มที่ภาวะนิวโทรพีเนียจะดีขึ้น
การใช้ granulocyte colony-stimulating factor(G-CSF)
การใช้ G-CSF อาจจะช่วยลดระยะเวลาของการเกิดภาวะนิวโทรพีเนีย หลังการได้รับยาเคมีบำบัด โดย
ช่วยให้มีการผลิตเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล ได้เร็วกว่าที่ร่างกายจะผลิตได้เอง
นางสาวจันทิมา สุวรรณรัตน์ เลขที่ 19 รุ่นที่ 36/1 612001020