Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน - Coggle…
บทที่5 พระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิภาพ และสุขภาพของประชาชน
5.1พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.๒๕๕๐
มาตร๑ พระราชบัญญัติสุขภาพพ.ศ.๒๕๕๐
มาตรา๒ ใช้บังคับวันถัดจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา๓ พระราชบัญญัติให้ความหมายของสุขภาพ ปัญญา ระบบสุขภาพ บุคลากรด้านสาธารณสุข ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข สมัชชาสุขภาพ กรรมการ คณะกรรมการสรรหา เลขาธิการ สำนักงาน คณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร หน่วยงานของรัฐ รัฐมนตรี
มาตรา๔ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติและให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง
หมวดที่๑ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา๕ บุคคลมีสิทธิดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ บุคคลที่ร่วมกับรัฐดำเนินการให้เกิดสิ่งแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง
มาตรา๖ สุขภาพหญิงด้านเพศและเจริญพันธ์ุมีความจำเพาะ ต้องได้รับการส่งเสริมและคุ้มครอง รวมทั้งเด็ก คนพิการ ผู้สูงอายุ
มาตรา๗ ข้อมูลสุขภาพบุคคล เป็นความลับส่วนตัว เปิดเผยไม่ได้ เว้นแต่ตามประสงค์ของบุคคล
มาตรา๘ การบริการสาธารณสุข ต้องแจ้งขูลด้านสุขภาพเกี่ยวกับการบริการ ผู้ใช้บริการจะใช้ตัดสินใจ
มาตรา๙ จะใช้ผู้รับบริการทดลองวิจัย ต้องแจ้งผู้รับบริการและรับความยินยอมเป็นหนังสือ
มาตรา๑๐ กรณีมีผลกระทบสุขภาพประชาชนเกิดขึ้น หน่วยงานรัฐต้องเปิดเผยข้อมูลและป้องกันกับประชาชนทราบ
มาตรา๑๑ บุคคลมีสิทธิร้องขอให้ประเมินและร่วมกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ
มาตรา๑๒ บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์รับบริการเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิตตน
หมวดที่๒ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๓ ให้มีคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรียกย่อว่า คสช.
มาตรา๑๔ กรรมการตามมาตรา๑๓ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา๑๕ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ ของการดำเนินการ
มาตรา๑๖ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ ให้เป็นไปตามวิธีการที่คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะกำหนด
มาตรา๑๗ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกำหนด
มาตรา๑๘ การเลือกกรรมการตามมาตรา๑๓ ให้คณะกรรมการสรรหาดำเนินการ
มาตรา๑๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งซึ่ง คสช.แต่งตั้ง
มาตรา๒๐ ให้คณะกรรมการสรรหามีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา๒๑ กรรมการมาตรา๑๓ มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี โดยกรรมการตามมาตรา๑๓ จะดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันไม่ได้
มาตรา๒๒ นอกจากพ้นตำแหน่งวาระ กรรมการตามมาตรา๑๓ พ้นจากตำแหน่งเมื่อพ้นจากตำแหน่งตามที่ระบุในมาตรา๑๕
มาตรา๒๓ การพ้นตำแหน่งตามวาระ พ้นตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก จำคุก คสช.ให้บกพร่องต่อหน้าที่ ขาดคุณสมบัติ
มาตรา๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีประชุมคสช.และการปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบคสช.กำหนด
มาตรา๒๕ คสช.มีหน้าที่และอำนาจ
หมวด๓ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๒๖ จัดตังสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพเป็นหน่วยงานของรัฐ
มาตรา๒๗ ให้สำนักมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา๒๙ บรรดารายได้ของสำนักงานตามมาตรา๒๘ ไม่เป็นรายได้ที่ต้องส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
มาตรา๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกำหนด
มาตรา๓๑ ให้มีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงานของสำนักงานขึ้นตรงต่อคสช.
มาตรา๓๒ ให้เลขาธิการมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี ดำรงตำแหน่งไม่เกินสองวาระ
มาตรา๓๓ นอกจากพ้นตำแหน่งตามวาระ เลขาธิการพ้นตำแหน่ง เมื่อตาย ลาออก จำคุก ไม่ผ่านการประเมิน
มาตรา๓๔ เลขาธิการมีหน้าที่และอำนาจ
มาตรา๓๕ เงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นของเลขาธิการให้คณะกรรมการบริหารกำหนด
มาตรา๓๖ ให้เลขาธิการเป็นผู้แทนสำนักงานในกิจการเกี่ยวกับบุคคลภายนอก
มาตรา๓๗ ให้คสช.แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
มาตรา๓๘ การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การประชุมและปฏิบัติงานของกรรมการบริหาร ให้เป็นไปตามระเบียบที่คสช.กำหนด
มาตรา๓๙ คะณะกรรมการบริหารมีหน้าทีและอำนาจ
หมวด๔ สมัชชาสุขภาพ
มาตรา๔๐ การจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ให้ประชาชนรวมกันเพื่อจัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่
มาตรา๔๑ ให้คสช. จัดให้มีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
มาตรา๔๒ ในการจัดสมัชชาสุขภาพให้คสช.แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพคณะหนึ่งมีจำนวนตามคสช.กำหนด
มาตรา๔๓ ให้คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพมีหน้าที่จัดการประชุม กำหนดวัน เวลา สถานที่ ต้องประกาศล่วงหน้า
มาตรา๔๔ ผู้ประสงค์เข้าร่วมสมัชชาให้สมัครลงทะเบียนสำหรับประชุมครั้งนั้น
มาตรา๔๕ สมัชชามีข้อเสนอให้หน่วยงานรัฐนำไปปฏิบัติ
หมวด๕ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๔๖ ให้คสช.จัดทำธรรมนูยด้วนระบบสุขภาพแห่งชาติเพื่อเป็นกรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาล ยุทธศาสตร์ การดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาเห็นชอบ
มาตรา๔๗ ธรรมนูญว่าด้วนระบบสุขภาพต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีสาระสำคัญ
มาตรา๔๘ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ และนโยบาล ยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพมาตรา๒๕ ที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ ให้ผูกพันหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินต่อตามอำนาจหน้าที่ของตน
หมวด๖ บทกำหนดโทษ
มาตรา๔๙ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา๗ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๐ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน เงินงบประมาณสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขส่วนสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ เป็นสำนักงานตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๕๑ ให้นำบรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกับการปฏิบัติงานของสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติมาใช้บังคับการปฏิบัติงานสำนักงานโดยอนุโลม จนกว่าจะมีข้อบังคับ
มาตรา๕๒ ให้ถือว่าข้าราชการโดนตามมาตรา๕๐ ออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกตามกฎหมายว่าด้วยบำเน็จบำนาญข้าราชการ
มาตรา๕๓ ให้นำความมาตรา๕๒ ใช้บังคับการออกจากราชการที่สำนักงานเข้ารับทำงานด้วยโดยอนุโลม แต่ข้าราชการต้องแสดงความจำนงเป็นหนังสือเข้าทำงานต่อสำนักงานภายในหนึ่งปี
มาตรา๕๔ ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติในวันประกาศ ปฏิบัติหน้าที่เลขธิการจนกว่าจะมีการแต่งตั้งเลขาธิการตามพระราชบัญญัติ
มาตรา๕๕ ในวาระเริ่มแรก ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการการสรรหาตามมาตรา๑๙ แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ
5.2 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕
มาตร๑ พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.๒๕๔๕
มาตรา๒ ใช้บังคับวันถัดจากประกาศ
มาตรา๓ ให้ความหมายของบริการสาธารณสุข สถานบริการ หน่วยบริการ เครือข่ายหน่วยบริการ ค่าบริการ ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กองทุน คณะกรรมการ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน เลขาธิการ สำนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่ รัฐมนตรี
มาตรา๔ ให้รัฐมนตรีกระทรวงรักษาตามพระราชบัญญัติและแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงและประกาศปฏิบัติ
หมวด๑ สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา๕ บุคคลทุกคนมีสิทธิรับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและประสทิธิภาพที่กำหนด
มาตรา๖ บุคคลใช้สิทธิตามมาตรา๕ให้ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานที่กำหนด
มาตรา๗ บุคคลลงทะเบียนแล้ว ให้ใช้สิทธิรับบริการจากหน่วยประจำของตน
มาตรา๘ ผู้มีสิทธิมาตรา๕ ยังไม่ลงทะเบียนตามมาตรา๖ อาจเข้ารับบริการครั้งแรกที่หน่วยใดก็ได้ และให้จัดลงเที่ยนและแจ้งสำนักงานทราบภายในสามสิบวัน
มาตรา๙ ขอบเขตสิทธิรับบริการให้ตามกฎหมายที่กำหนดไว้
มาตรา๑๐ ขอบเขตสิทธิประกันสังคมเป็นไปตามกำหนดกฎหมายประกันสังคม
มาตรา๑๑ กรณีลูกจ้างรับการรักษาพยาบาลด้วยเงินทดแทน สำนักงานมีสิทธิเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการจากกองทุนเงินทดแทน
หมวด๒ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๓ ให้มีคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๑๔ กรรมการตามมาตรา๑๓จะดำรงตำแหน่งกรรมการตามมาตรา๔๘ไม่ได้
มาตรา๑๕ กรรมการมตรา๑๓วรรคหนึ่ง มีวาระอยู่คราวละสี่ปี ดำรงตำแหน่งเกินสองวาระติดต่อไม่ได้
มาตรา๑๖ พ้นตำแหน่งตามวาระมาตรา๑๕วรรคหนึ่ง พ้นตำแหน่งจาก ตาย ลาออก ล้มละลาย ไร้ความสามารถ จำคุก มีความประพฤติเสื่อมเสีย
มาตรา๑๗ ประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
มาตรา๑๘ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๑๙ ให้คณะกรรมการมีอำนาจมีอำนาจหน้าที่ควบคุมดูแลสำนักงานให้ดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
มาตรา๒๐ คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา๒๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบขึ้นคณะหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบการบริหารเงินและการดำเนินงานของสำนักงานเพื่อถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบแบบแผน
มาตรา๒๒ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติให้คณะกรรมการมีอำนาจขอให้หน่วยงานของรัฐมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง มาให้ถ้อยคำเพื่อประกอบพิจารณา
มาตรา๒๓ ให้กรรมการได้รับเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายเดินทาง
หมวด๓ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๒๔ ให้มีสำนักงานหลักประกันสุขภาพเป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้การกำกับดูแลรัฐมนตรี
มาตรา๒๕ ให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพตั้งอยู่ในกรุงเทพหรือเขตจังหวัดใกล้เคียง
มาตรา๒๖ ให้สำนักงานมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๒๗ ทรัพย์สินสำนักงานไม่อยู่ในความรับผิดชอบแห่งการบังคับคดี
มาตรา๒๘ อสังหาริมทรัพย์ที่สำนักงานได้มาโดยมีผู้บริจาค ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของสำนักงาน
มาตรา๒๙ ให้คณะกรรมการเสนอขอรับงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อคณะรัฐมนตรี
มาตรา๓๐ การเก็บรักษาและการใช้จ่ายเงินของสำนักงานให้เป็นตามระเบียบคณะกรรมการกำหนด
มาตรา๓๑ ให้สำนักงานมีเลขาธิการเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารกิจการของสำนักงานตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
มาตรา๓๒ เลขาธิการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา๓๓ เลขาธิการพ้นตำแหน่งเมื่อ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ จำคุก ขาดการประชุมสามครั้งติดต่อกัน บกพร่องหน้าที่ ถูกเลิกสัญญาจ้าง
มาตรา๓๔ ให้เลขาธิการมีวาระอยู่ตำแหน่งคราวละสี่ปี อยู่ไม่เกินสองวาระติด
มาตรา๓๕ ให้เลขาธิการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐดำรงตำแหน่งระดับสูง
มาตรา๓๖ เลขาธิการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๓๗ ให้มีสำนักตรวจสอบขึ้นในสำนักงานทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะอนุกรรมการตรวจสอบ
หมวด๔ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๓๘ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นในสำนักงานหลักประกันสุขภาพ เรียกว่า กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา๓๙ องค์ประกอบของกองทุน
มาตรา๔๐ การรับเงิน การจ่ายเงิน เก็บรักษาเงินกองทุน ให้เป็นตามระเบียบคณะกรรมการกำหนด
มาตรา๔๑ ให้คณะกรรมการกันเงินไม่เกินร้อยละหนึ่งที่จ่ายให้หน่วยบริการเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้รับบริการ
มาตรา๔๒ ผู้รับบริการรับความเสียหายจากการรักษาพยาบาล โดยหาผู้กระทำผิดได้แต่ไม่ได้รับความเสียหายในระยะเวลาสมควรตามมาตรา๔๑ เมื่อสำนักงานจ่ายเงินช่วยเหลือสามารถมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทำผิด
มาตรา๔๓ ในสามเดือนนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ให้คณะกรรมการเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินกองทุนในปีที่ล่วงมา
หมวด๕ หน่วยบริการและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๔ สำนักงานจัดให้มีการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการและประชาสัมพันธ์ประชาชนทราบ
มาตรา๔๕ ให้หน่วยบริการมีหน้าที่
มาตรา๔๖ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการมาตรา๔๔ มีสิทธิรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากกองทุน
มาตรา๔๗ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับคนในพื้นที่ ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม เหมาะสม ต้องการของประชาชนในท้องถิ่น
หมวด๖ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๘ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข
มาตรา๔๙ การดำรงตำแหน่ง วาระ การพ้นตำแหน่ง การประชุมให้นำมาตรา๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ มาบังคับใช้โดยอนุโลม
มาตรา๕๐ คณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๕๑ มีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติตาม
มาตรา๕๒ มีอำนาจขอให้หน่วยงานของรัฐมีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง มาให้ถ้อยคำ
มาตรา๕๓ ได้รับค่าเบี้ยประชุม ค่าใช้จ่ายเดินทาง
หมวด๗ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา๕๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานที่มีอำนาจเข้าไปสถานที่หน่วยบริการ ในระหว่างเวลาทำการ เพื่อตรวจสอบ สอบถามข้อเท็จจริง
มาตรา๕๕ ในการปฏิบัติหน้าที่พนักงานต้องแสดงบัตรประจำตัว
มาตรา๕๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเป็นเจ้าที่พนังงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด๘ การกำกับมาตรฐานหน่วยบริการ
มาตรา๕๗ กรณีสำนักงานตรวจสอบหน่วยบริการไม่ปฏิบัติตาม ให้รายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานเพื่อทำการสอบสวน
มาตรา๕๘ ผลการสอบสวนมาตรา๕๗ ปรากฏว่าหน่วยบริการไม่ปฏิบัติตาม ให้คณะกรรมการคุณภาพและมาตรฐานดำเนินการ
มาตรา๕๙ ผู้รับบริการไม่ได้รับความสะดวกตามสมควร หน่วยบริการไม่มีสิทธิเก็บเกินกว่าอัตราคณะกรรมการกำหนด
มาตรา๖๐ กระทำผิดมาตรา๕๘ ๕๙ เป็นการกรำทำผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ำหลายครั้ง ให้เลขาธิการรายงานต่อคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐาน
มาตรา๖๑ ผู้ร้องเรียนได้รับคำสั่งจากคณะกรรมการให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในสามสิบวัน
มาตรา๖๒ เมื่อคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมาตรา๖๑ ผลเป็นประการใด ให้เลขาธิการรายงานผล
บทเฉพาะกาล
มาตรา๖๕ ในวาระเริ่มแรก ไม่ให้นำบทบัญญัติมาตรา๖ ๗ ๘ ๑๑ ๑๒ มาใช้บังคับ จนกว่าจะมีการจัดเตรียมความพร้อมเพื่อให้บริการ
มาตรา๖๖ ให้ตราพระราชกฎษฎีกามาตรา๙ ๑๐ ภายในหนึ่งปีและไม่เสร็จให้ขยายเวลาครั้งละหนึ่งปี
มาตรา๖๗ ให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการมาตรา๑๓ รวมทั้งสรรหาและคัดเลือกเลขาธิการเพื่อให้ได้คณะกรรมการในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
มาตรา๖๘ ให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการคัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการมาตรา๔๘ เพื่อให้ได้คณะกรรมการควบคุมภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
มาตรา๖๙ ให้โอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้ ความรับผิด งบประมาณ เงินหมุนเวียน ไปเป็นของสำนักงานในวันที่พระราชบัญญัติบังคับ
มาตรา๗๐ ข้าราชการใดสมัครใจจะเปลี่ยนเป็นเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน ให้แจ้งความจำนงเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาและต้องผ่านคัดเลือกหรือประเมินตามหลักเกณฑ์กฎหมายกำหนด
หมวด๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา๖๓ ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๔ ผู้ใดขัดขวงแก่เจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่มาตรา๕๕วรรคสาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.3 พระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา๑ พระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ.๒๕๔๑
มาตรา๒ ใช้บังคับตั้งแต่ประกาศ
มาตรา๓ ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ.๒๕๐๔
มาตรา๔ ให้ความหมายสถานพยาบาล ใบอนุญาต พนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้อนุญาต คณะกรรมการ รัฐมนตรี
มาตรา๕ ไม่ใช้บังคับแก่สถานพยาบาลซึ่งดำเนินการโดยกระทรวง หน่วยงานอื่น ซึ่งรัฐมนตรีประกาศกำหนด
มาตรา๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาตามพระราชบัญญัตินี้และมีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ออกกฎกระทรวง
หมวด๑ คณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา๗ มีคณะกรรมการสถานพยาบาล
มาตรา๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมาตรา๗ มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละสามปี ดำรงตำแหน่งเกินสองวาระไม่ได้
มาตรา๙ พ้นวาระตำแหน่งวาระมาตรา๘ พ้นจากตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก ล้มละลาย คนไร้ความสามารถ พ้นจากการเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ จำคุก
มาตรา๑๐ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา๑๑ คณะกรรมการมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ให้ความเห็น ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรี
มาตรา๑๒ คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในขอบเขตหน้าที่คณะกรรมการได้
มาตรา๑๓ ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นมาตรา๑๒ มีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือเรียกให้บุคคลมาให้ถ้อยคำเพื่อประกอบพิจารณา
หมวด๒ การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำเนินการสถานพยาบาล
มาตรา๑๔ สถานพยาบาลมี๒ประเภท ได้แก่ ไม่มีผู้รับบริการค้างคืนและมีผู้รับบริการค้างคืน
มาตรา๑๔/๑ สถานพยาบาลให้มีการศึกษา ฝึกอบรม การวิจัยการแพทย์และสาธารณสุข
มาตรา๑๕ ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดมาตรฐานการบริการสถานพยาบาล
มาตรา๑๖ ห้ามให้บุคคลประกอบกิจการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
มาตรา๑๗ ผู้ขอรับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
มาตรา๑๘ ในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลของผู้อนุญาต ต้องปรากฎว่าผู้ขอรับใบอนุญาตได้จัดให้มีกรณีโดยถูกต้องครบถ้วนแล้ว
มาตรา๑๙ ใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล ให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีนับออกใบ
มาตรา๒๐ ผู้รับอนุญาตต้องชำระค่าธรรมเนียมตามหลักเกณฑ์ วิธีการ อัตรากำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาที่ยังประกอบกิจการ ถ้าไม่ได้ชำระค่าธรรมเนียมตามกำหนดให้ชำระเพิ่มร้อยละห้าต่อเดือน และไม่ยินยอมหลังพ้นกำหนดหกเดือนให้ผู้อนุญาตดำเนินการมาตรา๔๙
มาตรา๒๑ การโอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลให้แก่บุคคล ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามมาตรา๑๗ ให้กระทำได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๒๒ ภ้าผู้รับอนุญาตและมีบุคคลแสดงความจำนงภายในสามสิบวัน เพื่อขอประกอบกิจการที่ผู้ตายได้รับอนุญาตต่อไป
มาตรา๒๓ ผู้รับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้ดำเนินการคนหนึ่ง เป็นผู้ควบคุม ดูแล รับผิดชอบการดำเนินการสถานพยาบาล
มาตรา๒๔ ห้ามให้บุคคลดำเนินการสถานพยาบาล เว้นแต่ได้รับใบอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๒๕ ในการพิจารณาออกใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลของผู้อนุญาตต้องปรากฏว่าผู้ขอรับใบอนุญาต
มาตรา๒๖ ผู้ดำเนินการพ้นจากหน้าที่ได้เกินเจ็ดวัน ผู้รับอนุญาตมอบหมายมีคุณสมบัติมาตรา๒๕ ดำเนินการแทนไม่เกินเก้าสิบวัน แจ้งหนังสืออนุญาตในสามสิบวัน
มาตรา๒๗ ผู้รับอนุญาต ผู้ดำเนินการ และผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลแห่งหนึ่งๆจะเป็นบุคคลคนเดียวก็ได้
มาตรา๒๘ ใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินของปีที่สองนับแต่ปีที่อนุญาต
มาตรา๒๙ กรณีผู้ไม่ออกใบอนุญาต หรือไม่ต่ออายุ ผู้ขอรับใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อรัฐมนตรีภายในสามสิบวันตั้งแต่ได้รับแจ้งการไม่ออกใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
มาตรา๓๐ กรณีใบอนุญาตสูญหายให้ผู้รับอนุญาตแจ้งต่อผู้อนุญาตและยื่นคำขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันสูญหาย
มาตรา๓๑ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานพยาบาลนั้น
มาตรา๓๒ ผู้รับอนุญาตต้องแสดงรายละเอียด ณ สถานพยาบาลนั้น
มาตรา๓๓ รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดชนิดของการรักษาพยาบาล ยาและเวชภัณฑ์ การบริการการแพทย์ และสิทธิผู้ป่วย ได้รับอนุญาตแสดงตามมาตรา๓๒
มาตรา๓๔ ให้ผู้ดำเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบ
มาตรา๓๕ ให้ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการมีหน้าที่และความรับผิดชอบร่วมกัน
มาตรา๓๖ ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการของสถานพยาบาลต้องควบคุมและดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยมาตรา๓๓/๑ ซึ่งอยู่ในสภาพอันตรายและจำเป็นต้องรับการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน เพื่อให้พ้นอันตราย
มาตรา๓๓/๑ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนดผู้ป่วยฉุกเฉินตามกฎหมายว่าด้วยการแพทย์ฉุกเฉิน โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อต้องเฝ้าระวัง ซึ่งผู้ป่วยต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉินมาตรา๓๖
มาตรา๓๗ ผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีการใช้ให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการผิดประเภท
มาตรา๓๙ ผู้ใดโฆษณาเกี่ยวกับประกอบกิจการของสถานพยาบาล นอกจากชื่อ ที่ตั้งที่ปรากฏในใบอนุญาต ต้องได้รับอนุมัติข้อความ เสียง ภาพที่ใช้โฆษณาจากผู้อนุญาต
มาตรา๔๐ กรณีผู้รับอนุญาตประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการพยาบาลให้แตกต่างไปจากที่ระบุไว้ในใบอนุญาต ให้ขออนุญาตก่อน
มาตรา๔๑ กรณีผู้รับอนุญาตประสงค์ย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการอื่น ให้ดำเนินการเสมือนเป็นผู้ขออนุญาตประกอบกิจการพยาบาลใหม่
มาตรา๔๒ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้ประกอบวิชาชีพมาตรา๑๘ ผู้รับอนุญาตต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบในสามสิบวัน
มาตรา๔๓ ภายใต้บังคับมตรา๑๘ การเปลี่ยนชื่อสถานพยาบาลต้องได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต
มาตรา๔๔ ผู้รับอนุญาตใดประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน
มาตรา๔๕ ให้ผู้อนุญาตจัดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจลักษณะของสถานพยาบาลและการประกอบกิจการของสถานพยาบาลเป็นไปตามพระราชบัญญัติโดยสม่ำเสมอ
หมวด๓ พนักงานและเจ้าหน้าที่
มาตรา๔๖ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจหน้าที่
มาตรา๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานต้องแสดงบัตรประจำตัวให้เป็นไปตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา๔๘ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติให้ผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
หมวด๔ การปิดสถานพยาบาลและการเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา๔๙ เมื่อปรากฏว่าผู้รับอนุญาตไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ ให้พนักงานมีอำนาจสั่งให้ผู้รับอนุญาต ระงับให้ถูกต้องในระยะเวลาที่สมควร
มาตรา๕๐ ผู้รับอนุญาตกระทำการจนเกิดเหตุอันตราย ความเสียหายเดือดร้อนแก่ผู้อยู่สถานพยาบาล ผู้ให้อนุญาตมีอำนาจสั่งปิดสถานพยาบาลเป็นการชั่วคราวจนได้ดำเนินการถูกต้องในระยะเวลาที่กำหนด
มาตรา๕๑ กรณีผู้รับอนุญาตขาดคุณสมบัติให้ผู้อนุญาตให้คำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจออกคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้
มาตรา๕๒ เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองดูแลผู้ป่วยในสถานพยาบาล
มาตรา๕๓ คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ทำเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ผู้รับอนุญาต ณ ภูมิลำเนานั้น ถ้าไม่พบตัวให้จัดการปิดคำสั่งไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานพยาบาล แลให้ถือว่าผู้นั้นได้ทราบคำสั่งนั้นแล้วตั้งแต่วันปิดคำสั่ง
หมวด๕ บทกำหนดโทษ
มาตรา๕๖ ผู้ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของคณะกรรมการ มาตรา๑๓ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๗ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๑๖วรรค๑ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๘ ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๙ ๔๕ ๔๙ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๙ ไม่ปฏิบัติมาตรา๒๑ ๓๑ ๓๒ ๔๐ ๔๓ ต้องวางโทษไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๐ ไม่ดำเนินการมาตรา๒๓ ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๑ ผู้มีหน้าที่แจ้งให้ทราบ แต่ไม่แจ้งในเวลากำหน้ามาตรา๒๖ ๓๐ ๔๒ ๔๔ วรรคหนึ่ง ต้องปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๒ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๓ วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๓ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๓วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๔ ผู้ดำเนินไม่ปฏิบัติมาตรา๓๔ ต้องวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา๖๕ ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๔ ๓๕ ต้องวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๖ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๖ ต้องวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๖๗ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๗ ต้องวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๖๘ ผู้ไม่ปฏิบัติมาตรา๓๘วรรคหนึ่ง วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท และให้ปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทนับแต่วันฝ่าฝืนให้ระงับการโฆษณา
มาตรา๖๙ ไม่ปฏิบัติมาตรา๔๔วรรคสอง ต้องวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๐ ไม่ไม่อำนวยความสะดวกพนกงานเจ้าหน้าที่มาตรา๔๖ ต้องวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
มาตรา๗๑ สถานพยาบาลถูกสั่งปิดชั่วคราวมาตรา๕๐ ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๒ ผู้ขัดขวางแก่คณะกรรมการมาตรา๕๒ ต้องวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๓ ผู้รับอนุญาตทำเอกสารเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๗๔ ผู้ทำผิดเป็นนิติบุคคล ผู้นั้นต้องรับโทษตามบัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้นๆ
มาตรา๗๕ ให้กรรมการเปรียบเทียบคดี
บทเฉพาะกาล
มาตรา๗๖ ใบอนุญาตตั้งสภาและดำเนินการพ.ศ.๒ค๐๔ ถือเป็นใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล และให้ใช้ถึงสิ้นปีปฏิทิน
มาตรา๗๗ บรรดากฎกระทรวง พระราชบัญญัติพ.ศ.๒๕๐๔ และใช้บังคับในวันที่พระราชบัญญัติใช้ ให้ใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดกับพระราชบัญญัติ
5.4 พระราชบัญญัติโรคติดต่อพ.ศ.๒๕๕๘
มาตรา๑ พระราชบัญญัติโรคติดต่อพ.ศ.๒๕๕๘
มาตรา๒ พระราชบัญญัติใช้บังคับพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศราชกิจจานุเบกษา
มาตรา๓ ให้ยกเลิกพ.ศ.๒๕๒๓
หมวด๔ พระราชบัญญัตินี้พูดถึงความหมายโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง โรคระบาด พาหะ ผู้สัมผัสโรค ระยะติดต่อของโรค แยกกัก กักกัน คุมไว้สังคม ระยะฟักตัวของโรค เขตติดโรค การสอบสวนโรค การเฝ้าระวัง พาหนะ เจ้าของพาหนะ ผู้ควบคุมพาหนะ ผู้เดินทาง การเสริมเสริมภูมิคุ้มกันโรค ที่เอกเทศ สุขาภิบาล ช่องทางเข้าออก คณะกรรมการ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร หน่วยงานของรัฐ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ อธิบดี รัฐมนตรี
หมวด๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัติและมีอำนาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
หมวด๑ บททั่วไป
มาตรา๖ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา๗ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอำนาจประกาศกำหนด
มาตรา๘ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจเข้าภายในราชอาณาจักร
มาตรา๙ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคระบาด ให้อธิบดีโดยคำแนะนำคณะกรรมการวิชาการมีอำนาจประกาศชื่อ อาการ สุานที่มีโรค และแจ้งพนักงานควบคุมโรคมาตรา๓๔
มาตรา๑๐ ข้อมูลที่เฝ้าระวัง การสอบสวนโรค การแจ้งตามพระราชบัญญัติ มีการพาดพิงถึงตัวบุคคลที่ระบุตัวได้ต้องเก็บเป็นความลับและประมวลผลโดยไม่เปิดเผยชื่อ
หมวด๒ คณะกรรมการการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา๑๑ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
มาตรา๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี
มาตรา๑๓ นอกจากพ้นจากตำแหน่งตามวาระ นอกจากนี้ ตาย ลาออก รัฐมนตรีให้ออก ล้มละลาย เป็นคนไร้ความสามารถ จำคุก
มาตรา๑๔ ให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๑๕ ประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดที่มีอยู่ จึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา๑๖ ให้มีคณะกรรมการด้านวิชาการคณะหนึ่ง
มาตรา๑๗ ให้นำความมาตรา๑๕ มาใช้บังคับแก่ประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการและคณะอนุกรรมการโดยอนุโลม
มาตรา๑๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติให้คณะกรรมการด้านวิชาการ มีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือเรียกบุคคลมาให้ข้อเท็จจริง เพื่อใช้ประกอบพิจารณาได้
มาตรา๑๙ ให้กรมควบคุมโรคเป็นสำนักงานเลขานุการของกรรมการด้านวิชาการ รับผิดชอบงานธุรการ โดยให้มีอำนาจหน้าที่
หมวด๓ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา๒๐ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
มาตรา๒๑ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำรงตำแหน่ง และการพ้นจากตำแหน่งของกรรมตามมาตรา๒๐ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด
มาตรา๒๒ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๒๓ คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออก
มาตรา๒๔ ให้คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกมีอำนาจหน้าที่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
มาตรา๒๕ ให้นำความในมาตรา๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพและคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกโดยอนุโลม
หมวด๔ คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา๒๖ ให้มีคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
มาตรา๒๗ การแต่งตั้ง วาระการดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการมาตรา๒๖ เป็นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขกรรมการกำหนด
มาตรา๒๘ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมีอำนาจหน้าที่
มาตรา๒๙ ให้นำความมาตรา๑๕ มาใช้บังคับการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อและคณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกอนุโลม
มาตรา๓๐ ให้นำความมาตรา๒๓ ๒๔ มาใช้บังคับแก่องค์ประกอบและอำนาจหน้าที่คณะทำงานประจำช่องทางเข้าออกที่กรรมการแต่งตั้งอนุโลม
หมวด๕ การเฝ้าระวังโรคติดต่อ
มาตรา๓๑ กรณีมีโรคติดต่ออันตราย โรคเฝ้าระวัง โรคติดต่อที่เฝ้าระวัง ต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๓๒ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อรับแจ้งมาตรา๓๑ มีเหตุสงสัยข้อมูลว่ามีโรคอันตราย ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งคณะกรรมการติดต่อจังหวัด และรายงานข้อมูลให้กรมควบคุมโรค
มาตรา๓๓ กรณีมีเหตุสงสัยมีโรคติดต่ออันตราย เกิดในต่างประเทศ ให้กรมควบคุมโรคประสานงานไปองค์การอนามัยโลกเพื่อขอข้อมูลโรค
หมวด๖ การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๓๔ เพื่อประโยชน์การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เมื่อเกิดโรคให้พนักงานควบคุมโรคในพื้นที่นั้นดำเนินการเอง
มาตรา ๓๕ กรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วนเพื่อป้องกันการแพร่ของโรคติดต่ออันตราย ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจในพื้นที่ความรับผิดชอบตน
มาตรา๓๖ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อขึ้นทุกอำเภออย่างน้อยหยึ่งหน่วย
มาตรา๓๗ ให้ผู้หน้าที่รับผิดชอบช่องทางเข้าออกปฏิบัติตามวิธีการเพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๓๘ มีเหตุสมควร ให้พนักงานควบคุมโรคประจำด่านมีอำนาจตรวจตราควบคุม กำกับ ดูแลในพื้นที่ช่องทางเข้าออกและแจ้งพนักงานท้องถิ่นดำเนินการกำจัดยุงและพาหะนำโรค บริเวณรัศมีสี่ร้อยเมตรรอบช่องทางเข้าออก
มาตรา๓๙ ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มีเหตุว่าพาหะมาจากท้องที่ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านมรอำนาจหน้าที่
มาตรา๔๐ รัฐมนตรีประกาศให้ท้องที่เป็นเขตติดต่อโรคมาตรา๘ ให้พนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ
หมวด๔๑ ให้เจ้าของพาหะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับพาหะนั้น เพื่อแยก กังกัน คุมไว้สังเกต ตลอดออกค่าเลี้ยงดู การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมาตรา๔๐
มาตรา๔๒ กรณีพบว่าผู้เดินทางเป็นโรคติดต่อให้พนักงานระหว่างประเทศมีอำนาจสั่งยุคคลดังกล่าวแยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต
มาตรา๔๓ เพื่อประโยชน์การป้องกันโรคติดต่อระหว่างประเทศให้อธิบดีมอบหมายอำนาจออกหนังสือรับรองการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหรือรับยาป้องกันระหว่างประเทศ
มาตรา๔๔ กรณีเจ้าพนักงานออกคำสั่งผู้ละเลยไม่ดำเนินการตามสั่งภายเวลากำหนด พนักงานควบคุมมีอำนาจดำเนินการแทนได้ โดยให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ
มาตรา๗ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๔๕ เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอำนาจ
มาตรา๔๖ ให้มีเครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจำตัวสำหรับเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๔๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อเป็นเจ้าหน้าที่ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา๘ ค่าทดแทน
มาตรา๔๘ ในการดำเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามพระราชบัญญัติ หากเกิดความเสสียหายแก่บุคคลจากการเฝ้าระวัง การป้องกันการชดเชยความเสียหายเกิดขึ้นแก่ผู้นั้นตามความจำเป็น
มาตรา๙ บทกำหนดโทษ
มาตรา๔๙ ผู้ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งคณะกรรมการ มาตรา๑๘ ๒๒ ๒๘ ๔๕ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๐ ผู้ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งตามมาตรา๓๑ วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๕๑ ผู้ฝ่าฝืนมาตรา๓๔ ๓๙ ๔๐ ๓๙ ต้องวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๕๒ ผู้ฝ่าฝืน๓๔ ๔๐ ๓๕ ต้องวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๓ ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานมาตรา๓๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๔ เจ้าของพาหนะไม่ปฏิบัติตามมาตรา๔๐ วางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๕ ผู้ขัดขวางมาตรา๔๕ วรรคสาม วางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา๕๖ ผู้ไม่มีสิทธิสวมเครื่องแบบเจ้าของพนักงานมาตรา๔๖ วางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา๕๗ ความผิดบัญญัติมีโทษปรับสถานเดียวหรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
บทเฉพาะกาล
มาตรา๕๘ ให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขพ.ศ.๒๕๒๓ เป็นพนักงานจนกว่าจะมีการแต่งตังพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
มาตรา๕๙ วาระแรก มาตรา๑๑ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตามพระราชบัญญัติไปพลางก่อนก่อนตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน
มาตรา๖๐ บรรดากฎกระทรวง ใช้บังคับอยู่ที่วันก่อนวันพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติ