Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย : :red_flag:
ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติ พฤติกรรมของมนุษย์
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย :red_flag:
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law) :!:
เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ และวางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมาย :!:
พระราชบัญญัติ(พรบ.) (Act))
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
การรวบรวมกฏหมายที่ตล้ายกันไว้ในหทวดเดียวกับเพื่อง่ายต่อการศึกษา
พระราชกำหนด (Royal Enactment)
กฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้แก่
ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree)
กฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของ
พระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี ไม่ผ่านนิติบัญญัติ บังคับใช้กับประชาชน
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร ไม่ผ่านรัฐสภาแต่ต้องผ่านรัฐมนตรี บังคับใช้กับประช่าชน
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้า
หน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ลักษณะของกฎหมาย :red_flag:
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดหรือกำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
เป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์) สำหรับประเทศไทย องค์กรที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย เช่น รัฐสภา รัฐบาล
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้
กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
เมื่อกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล จึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย หากเกณฑ์ใดไม่มีสภาพบังคับก็ไม่ถือว่าเป็นกฎหมาย
ระบบของกฎหมาย :red_flag:
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Common law system)
ระบบกฎหมายจารีตประเพณีเป็นกฎหมายที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม จึงเป็นการพิจารณาคดีเฉพาะเรื่องไปสู่เรื่องทั่วไป (Induction)
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
รัฐสภาเป็นผู้ออกกฎหมาย ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย จึงเป็นการพิจารณาคดีจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่เฉพาะเรื่อง (Deduction) และคำพิพากษาของศาลเป็นเพียงตัวอย่างของการใช้กฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย :red_flag:
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล :warning:
กฎหมายมหาชน (Public Law)
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ
ประชาชน โดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายเอกชน (Private Law)
เป็นกฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ
เอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ โดยมีแหล่งก าเนิดจากขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย :warning:
กฎหมายภายใน
เป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย :warning:
กฎหมายระเบียบราชการ กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมายธุรกิจ กฎหมายสาธารณะสุข กฎหมาอุตสาหกรรม
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย :warning:
กฎหมายสารบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย :warning:
กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
ลักษณะของระบบศาลไทย :red_flag:
ระบบศาลเดี่ยว
มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง หรือคดีประเภทอื่นๆ
ระบบศาลคู่
มมีอ านาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่ง
และคดีอาญาเท่านั้น
ระบบศาลของประเทศไทย
ระบบศาลคู่ แยกเป็นอิสระจากกัน มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
ศาลยุติธรรม
มีอeนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอeนาจของศาลอื่น
ศาลชั้นต้น (Civil court/Court in the First instance)
ศาลยุติธรรมที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก เมื่อมีการฟ้องร้องและนำเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม ได้แก่ ศาลแพ่งและศาลอาญสา
ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)
พิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม ซึ่งการตัดสินคดีของศาลอุทธรณ์จะเป็นไปในลักษณะยืนตาม แก้ไข กลับหรือยกคำพิพากษา
ศาลฎีกา (Supreme Court)
อำานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อุทธรณ์ค าพิพากษา หรือคำสั่งของศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์แล้วแต่กรณ
3.ศาลปกครอง (Administrative Court)
อำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครอง ซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนกรณีหนึ่ง และข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานต่างๆ ของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน
ศาลทหาร
ชำระความที่เกี่ยวกับทหารและยังชำระความพลเรือนด้วย