Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์, ดาวน์โหลด, Piercing-needle, image,…
บทที่ 4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
Precipitous Labor
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอด น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที หรือมีการเปิดขยายของปากมดลูกในระยะปากมดลูกเปิดขยายเร็ว 5 cm/hr ในครรภ์แรก และมากกว่า 10 cm/hr ในครรภ์หลัง
การรักษา
การให้ยา รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ให้หยุดยาและดูแลอย่างใกล้ชิด อาจให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
รายที่มีการคลอดเฉียบพลันภายหลังคลอด ดูแลให้ ATB และ Methergin
ดูแลตามอาการ ถ้ามีภาวะคลอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
ทำ C/S ในรายที่คลอดเฉียบพลัน แต่การขยายของปากมดลูกไม่ดี
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ใน 10 นาที
Cx.dilate 5 cm/hr ในครรภ์แรก และ 10 cm/hr ในครรภ์หลัง
เจ็บครรภ์อย่างมาก
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
การหัดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
มีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
ทารกตัวเล็ก
ไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี และอาจตกเลือดหลังคลอด
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
เลือดคั่งใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
ทารก
เกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
ขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมอง
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทก
การพยาบาล
ตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ฟังเสียงหัวใจทารก
PV
on monitor EFM
จิตสังคม
ให้กำลังใจ
ให้ข้อมูล
ให้มารดาระบายความรู้สึก
ซักประวัติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็ว ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
Amniotic Embolism
ความหมาย
ภาวะที่น้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระแสเลือดของมารดา ซึ่งส่วนประกอบของน้ำคร่ำจะมีผลทำให้เกิดภาวะการล้มเหลวของระบไหลเวียน หัวใจ และระบบหายใจ
สาเหตุ
มีทางเปิดติดต่อกันของน้ำคร่ำ กับเส้นเลืือดดำของมารดา
มดลูกมีการหดรัดตัว ทำให้เกิดความแตกต่างของแรงดันภายในมดลูกสูงพอที่จะดันให้น้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา
ถุงน้ำคร่ำแตก
การรักษา
ป้องกันระบบไหลเวียน และรบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันการเกิดภาวะ DIC และการตกเลือด
ป้องกันและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน โดยให้ O2 100%
ช่วยคลอดให้เร็วที่สุด
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 1
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว หายใจลำบาก แน่นหน้าอก ปลายมือปลายเท้าเขียว เกิดขึ้นทันทีทันใด หัวใจและปอดหยุดทำงาน
ระยะที่ 2
เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ตกเลือดหลังคลอด เกร็ดเลือดต่ำ เกิดภาวะ DIC และเสียชีวิต
การวินิจฉัย
acute hypoxia : มีอาการหอบ เขียว หยุดหายใจอย่างรวดเร็ว
consumptive coagulopathy
acute hypotension or cardiac arrest
การพยาบาล
ดูแลจัดท่านอนตะแคง และให้ O2 100%
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจเช็ค และเตรียมอุปกรณ์ฟื้นคืนชีพ
ประคับประคองจิตใจของสามร และครอบครัว
ประเมินสภาพผู้คลอดอย่่างใกล้ชิด
NPO
Retained foler's catheter และ record I/O
มารดาที่มีภาวะช็อคทางสูติศาสตร์
ชนิดของช็อก
Septic shock
Hypovolemic shock
Hemorrhagic shock
กลุ่มอาการความดันเลือดต่ำในท่านอนหงาย
Fluid loss shock
ภาวะช็อกร่วมกับ DIC
Cardiogenic shock
Neurogenic shock
จากยา
ภาวะ electrolyte imbalance
จากสารเคมี
ความหมาย
เป็นภาวะที่ระบบไหลเวียนเลือดไม่สามารถนำ O2 และไม่สามารถนำของเสียที่เกิดจากแปรสภาพของเซลล์ กลับออกมาได้ปกติ เป็นผลให้การทำงานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว
การรักษา
ให้สารน้ำ/ให้เลือด
ให้ยาเพื่อให้หลอดเลือดตีบตัว
เจาะ ABG เพื่อตรวจ pH, PaO2 และ PaCO2
ให้ O2
รีบผ่าตัด/ช่วยห้ามเลือด
สาเหตุ
การลดลงของปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจ
ความผิดปกติของ Micro circulation
การลดลงของปริมาตรในเลือด
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มเซลล์
พยาธิสภาพ
Primary shock
CO ลดลง ปริมาณเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ลดลง และร่างกายพยายามปรับ/ควบคุมให้ความดันโลหิตปกติ
พบปัสสาวะลดลง
Secondary shock
เซลล์ตาย ร่างกายจะไม่ตอบสนองต่อการรักษาใดๆ
เซลล์ขาด O2 เป็นเวลานาน การคั่งของเลือดสูงขึ้น และของเหลวในเส้นเลือดไหลออกจากผนังหลอดเลือด
การพยาบาล
ให้ความอบอุ่นกับร่างกาย
ยกปลายเท้าสูงเเล็กน้อย
ให้มารดานอนหงายราบ และดูแลไม่ให้ทางเดินหายใจอุดกั้น
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Obs. V/S q 15 min.
สวนปัสสาวะ และทำ I/O
on O2 6-8 LPM
ขอความช่วยเหลือจากทีมสุขภาพอื่น เมื่อจำเป็น
Uterine inversion
ชนิดมดลูกปลิ้น
Prolapsed of inverted uterus : มดลูกส่วนที่ปลิ้นพ้นออกมาจากช่องคลอด
Incomplete inversion : มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นผ่านปากมดลูก
Complete inversion : มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
สาเหตุ
รกเกาะแนนแบบ placenta accrete
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
ทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
การเพิ่มแรงดันภายในช่องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
มีพาธิสภาพที่มดลูก
การรักษา
สารน้ำเป็น RLS
ดันมดลูกให้กลับเข้าไปในโพรงมดลูก โดยให้ยาระงับการเจ็บปวด/ยาคลายกล้ามเนื้อ
ให้ O2 mask c bag 8-10 LPM
เมื่อดันแล้ว ฉีด methergin/oxytocin ให้มดลูกหดรัดตัว
การดันมดลูก : Manual replacement of uterine inversion
อาการปละอาการแสดง
PV : พบก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกหรือช่องคลอด
มีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลันและปวดท้องอย่างรุนแรง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
รายที่เป็นเรื้อรังเยื่อบุมดลูกจะแห้ง
การพยาบาล
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้น
ป้องกันภาวะ shock เมื่อมดลูกปลิ้น
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Obs. V/S q 5-15 min.
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้า manual reinversion ไม่สำเร็จ ให้ทำ C/S
ประเมินความรู้สึกตัว
เตรียม CPR เมื่อ shock
นางสาวธิดารัตน์ แพงวงษ์ รหัส 602701032