Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย นางสาวหทัยรัตน์ …
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
นางสาวหทัยรัตน์ ชัยชนะมงคล เลขที่ 14 Sec A รหัส 6001210392
ประเภทกฎหมาย
เเบ่งตามสิทธิประโยชน์เเละความสัมพันธ์ของบุคคล
2.กฎหมายเอกชน (Private Law) บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดาเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับวิถีชีวิตประจำวันของประชาชน โดยบัญญัติถึงฐานะของบุคคล ครอบครัว มรดก หนี้สิน และกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ
กฎหมายพาณิชย์
เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับการค้าขาย หุ้นส่วน บริษัท การประกันภัยและตั๋วเงิน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาความ การดาเนินคดี ในการพิจารณาข้อพิพาททางแพ่ง ตลอดจนการกาหนดให้ฝ่ายผิดปฏิบัติตามคาพิพากษา
3.กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศ หรือรัฐต่อรัฐ โดยมีแหล่งกำเนิดจากขนบธรรมเนียมประเพณี ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
3.2 แผนกคดีบุคคล
เป็นกฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่ง เกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
3.3 แผนกคดีอาญา
เป็นกฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดยประชาชนของประเทศหนึ่ง และต้องพิจารณาว่าประเทศใดมีอานาจจับกุมและพิพากษาคดีเพื่อลงโทษบุคคลนั้น
3.1 แผนกคดีเมือง
สัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชนทั้งในเรื่องเขตแดน การฑูต การทาสนธิสัญญา หรือกรณีพิพาท
กฎหมายมหาชน (Public Law) รัฐกับประชาชน โดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอานาจเหนือกว่าประชาชน
3.กฎหมายอาญา
เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับการกระทาผิดและบทลงโทษ
4.กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยกระบวนการดาเนินคดี การพิจารณาความทางอาญา ตั้งแต่การจับกุม การรวบรวมพิจารณาและการพิจารณาคดี
2.กฎหมายปกครอง
เป็นกฎหมายที่กาหนดการปกครองประเทศ รองจากรัฐธรรมนูญ
5.ธรรมนูญศาลยุติธรรม
เป็นกฎหมายที่บัญญัติถึงการจัดตั้งศาล อานาจของศาลและ ผู้พิพากษาคดี
1.กฎหมายรัฐธรรมนูญ
เป็นแม่บทและเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ
เเบ่งโดยเเหล่งกำเนิดกฎหมาย
กฎหมายภายใน เป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอานาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ หรือ เกิดจากความตกลงระหว่างประเทศ เช่น สนธิสัญญา
แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายสาธารณะสุข
กฎหมายอุตสาหกรรม
แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายอาญา
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายวิธีสบัญญัติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
วิธีพิจารณาความแพ่ง
วิธีพิจารณาความอาญา
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชบัญญัติ พระราชกาหนด และประมวลกฎหมาย
2.1 พระราชบัญญัติ (พรบ.) (Act)
โดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา โดยผู้ที่สามารถเสนอร่างกฎหมายนี้ คือ คณะรัฐมนตรี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่เสนอผ่านพรรคการเมืองที่ตนสังกัด ถ้าลงมติเห็นชอบด้วยเสียง 2 ใน 3 ถือว่าร่างกฎหมายนี้ผ่านความเห็นชอบและนายกรัฐมนตรีสามารถนาขึ้นทูลเกล้าฯ เสนอเพื่อลงพระปรมาภิไธย
2.2 ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
รวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน ให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ เพื่อง่ายต่อการศึกษา ค้นคว้า นาไปประยุกต์ ปรับปรุงหรือแก้ไขกฎหมาย
2.3 พระราชกำหนด (Royal Enactment)
กฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอานาจให้แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นรีบด่วน อันจะเป็นประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ หรือความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree) ออกโดยฝ่ายบริหารที่อาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ มีอานาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามารถมีบทกาหนดโทษ
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law)
-กฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด กำหนดรูปแบบการปกครองประเทศ และวางระเบียบอานาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
-เป็นกฎหมายแม่บทของกฎหมายปกครองประเทศ ซึ่งกฎหมายอื่นจะขัดแย้งไม่ได้
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation) ออกโดยฝ่ายบริหารและอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ เพื่อออกกฎหมายเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆ โดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร เพื่อกำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติงาน โดยอาศัยตามพระราชบัญญัติ
ประกาศและคาสั่ง (Announcement/Command) เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติ
อื่นๆ: ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง เช่น ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา ข้อบัญญัติจังหวัด และเทศบัญญัติ ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะพื้นที่เท่านั้น
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว ให้ศาลยุติธรรมมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภทระบบนี้เป็นระบบที่ใช้กันมากที่สุด
ระบบศาลคู่ เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น ส่วนคดีปกครองแยกให้ศาลปกครองเป็นศาลที่มีอานาจในการวินิจฉัยคดี
ระบบศาลคู่ คือ การแยกระบบของผู้พิพากษาและการแยกองค์กรศาลปกครองออกจากระบบศาลยุติธรรม ใช้ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร (Civil Law)
ระบบศาลของประเทศไทย มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดารงตาแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้ โดยผู้พิพากษาหรือตุลาการเป็นผู้ชี้ขาดตัดสิน ด้วยวิธีพิจารณาที่เหมาะสม
ศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม พิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาเป็นคนกลางทาหน้าที่ตัดสินคดีความ ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
2.3 ศาลฎีกา (Supreme Court)เป็นศาลยุติธรรมสูงสุดการวินิจฉัยชี้ขาดของศาลฎีกาถือเป็นที่สุดหรือเป็นคดีแดง ซึ่งคู่กรณีไม่สามารถนำกลับมาฟ้องร้องได้
2.2 ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)เป็นศาลลาดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น มีองค์คณะ ผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน เพื่อพิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
วินิจฉัยชี้ขาดคาร้องขออุทธรณ์ของคู่กรณี หากคู่กรณียังไม่พอใจคำตัดสินในชั้นอุทธรณ์ สามารถฎีกาได้
2.1 ศาลชั้นต้นพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก เมื่อมีการฟ้องร้องและนำเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
ศาลแพ่ง
พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอานาจของศาลยุติธรรมอื่น ใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งโอนคดีไปยังศาลยุติธรรมอื่นที่มีเขตอำนาจ
ศาลอาญา อำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานคร แต่บรรดาคดีที่เกิดขึ้นนอกเขตอำนาจศาลอาญานั้นจะยื่นฟ้องต่อศาลอาญาก็ได้
ศาลปกครอง (Administrative Court) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง คดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ศาลที่ใช้ระบบไต่สวน โดยในแต่ละคดีจะมีการพิจารณาโดยองค์คณะของ ตุลาการ ต่างจากศาลยุติธรรมซึ่งใช้ระบบกล่าวหา ศาลปกครองมี 2 ชั้น คือ ศาลปกครองชั้นต้น และศาลปกครองสูงสุด
ศาลรัฐธรรมนูญ พิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ แต่ไม่มีอานาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลทหาร มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการกระทำผิด ตามกฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร
ระบบของกฎหมาย
1.ระบบกฎหมายจารีตประเพณี/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
โดยมีระบบการพิจารณาพิพากษาคดีที่อาศัยบรรทัดฐาน จนเกิดเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐานเเละเป็นกฎหมายจากคำตัดสินของผู้พิพากษาที่ปฏิบัติสืบกันมา
ได้เเก่ ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา เเคนาดา
ออสเตรเรีย นิวซีเเลนด์ อินเดีย
2.ระบบประมวลกฎหมาย/เป็นลายลักษณ์อักษร
พิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่องโดยตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย ได้นำหลักเกณฑ์ของระบบนี้มาร่างเป็นประมวลกฎหมาย
ได้เเก่ อิตาลี เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สเปน ญี่ปุ่น ไทย จีน
ความหมายของกฎหมาย
คือ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับที่รัฐ กำหนดขึ้นเพื่อควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ ก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามกฎหมายกำหนด
ลักษณะของกฎหมาย
2.กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐ
เป็นคำสั่งหรือช้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ องค์กรทำหน้าที่ออกกฎหมาย เช่น รัฐสภา รัฐบาล องค์กรปกครองท้องถิ่น
3.กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
ประกาศใช้เเล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
4.กฎหมายต้องมีสภาพพบังคับ
กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดความพฤติของบุคคล เพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม ต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการฝ่าฝืนกฎหมาย
1.กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
เป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐาน กำหนดความพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายเเละผลดี
ผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายสามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ผลร้าย
2.จำคุก = เอาตัวไปคุมขังไว้ในเรือนจำ
3.กักขัง = กักขังไว้ในสถานีตำรวจ
เด็กหรือเยาวชนไม่ชำระค่าปรับ จะกักขังเเทนค่าปรับไม่ได้ เเต่ให้ส่งตัวไปเพื่อควบคุมเเละอบรมในสถานพินิจเเต่ไม่เกิน 1 ปี
1.ประหารชีวิต = ฉีดยาพิษให้ตาย
4.ปรับ = ต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนด
5.ริบทรัพย์สิน = ริบทรัพย์ที่ใช้ในการกระทำผิด