Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
🧪 (Cell Transportation) 🧬, 💡…
-
-
-
-
❣และมีโปรตีนแทรกอยู่ระหว่างโมเลกุลของ phospholipid ซึ่งบนโปรตีนจะมี คาร์โบไฮเดรตเกาะอยู่ด้านบน เรียก ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)
- การแพร่ ( diffusion ) คือการเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรืออิออนของสารโดยอาศัยพลังงานจลน์ในโมเลกุลของสารเอง ทิศทางการแพร่จะเกิดจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำเสมอจนในที่สุดบริเวณทั้งสองจะมีความเข้มข้นเท่ากัน ซึ่งเรียกว่า จุดสมดุลของการแพร่ ( Dynamic Equilibrium ) การแพร่แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
- การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion)
2.การแพร่แบบมีตัวพา ( Faciliteated diffusion )
- การออสโมซิส คือการแพร่ของตัวทำละลายผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากความเข้มข้นของสานน้อยไปยังมาก (น้ำน้อย-ข้นมาก , น้ำมาก-ข้นน้อย)
การออสโมซิสจะมีผลทำให้รูปร่างของเซลล์เปลี่ยนแปลงดังนี้ 1. Isotonic solution 2. Hypertonic solution 3. Hypotonic solution
คือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่บริเวณที่มีความหนาแน่นมากโดยอาศัยพลังงานในรูปATPจากเซลล์ กระบวนการนี้นับว่ามีความสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เซลล์สามรถรักษาสภาวะสมดุลอยู่ได้
-
- เป็นกระบวนการลําเลียงสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารตํ่าไปยังบริเวณที่มีความ
หนาแน่นของสารสูงกว่า โดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
- กระบวนการนี้ต้องอาศัยพลังงานจากเซลล์ที่อยู่ในรูปของสารให้พลังงานสูง คือ ATP
-
❣เป็นวิธีการที่สารถูกนำเข้าหรือออกจากเซลล์โดยที่เยื้อหุ้มเซลล์จะห่อหุ้มเอาสารนั้นเข้าเป็นถุง หลังจากนั้นเยื้อหุ้มเซลล์ส่วนที่เป็นถุงก็จะหลุดออกจากเยื้อหุ้มเซลล์ส่วนอื่นๆกลายเป็นถุงเล็กๆการลําเลียงสารโดยวิธีนี้ต้องอาศัยพลังงานจากเซลล์เข้าร่วมด้วยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
- การนําสารเข้าสู่ภายในเซลล์ (Endocytosis)
-
พาโกไซโตซิส (Phagocytosis = Cell eating) คือวิธีการนําสารที่มีลักษณะเป็นของ
แข็งหรือเซลล์ขนาดเล็ก ๆ เข้าสู่เซลล์
-
- การนําสารออกสู่ภายนอกเซลล์ (Exocytosis)
คือ การนําสารออกสู่ภายนอกเซลล์เป็นกระบวนการที่เซลล์กําจัดสารออกนอกเซลล์ เช่น กากอาหารที่เหลือจากการย่อยของเสียของเซลล์
- สถานะของสาร โดยแก็สมีพลังงานจลน์สูงสุดจึงมีอัตราการแพร่สูงสุด
- สถานะของตัวกลางที่สารจะแพร่ผ่าน โดยตัวกลางที่เป็นแก็สจะมีแรงต้านน้อยที่สุดจึงทำให้มีอัตราการแพร่สูงที่สุด
- ขนาดอนุภาคของสาร โดยอนุภาคยิ่งเล็กยิ่งมีอัตราการแพร่สูง
- ระยะทางที่สารจะแพร่ในหนึ่งหน่วยเวลา
- อุณหภูมิ โดยจะมีผลต่อการเพิ่มพลังงานจลน์ให้กับสารทำให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึ้น
- ความดัน เมื่อความดันเพิ่มสูงขึ้นจะเพิ่มความหนาแน่นให้กับสาร ส่งผลให้มีอัตราการแพร่เพิ่มสูงขึ้น
- ความแตกต่างของความเข้มข้นสารระหว่าง 2 บริเวณ
-