Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8.1 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน, Uterine-rupture,…
บทที่ 8.1 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน
การอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
การพยาบาล
3.แนะนำให้งดการมีเพศสัมพันธ์และงดการสวนล้างช่องคลอด
4.ดูแลให้รับประทานอาหารที่เพียงพอ
2.ดูแลให้นอนหลับพักผ่อนมากที่สุด
5.จัดให้นอนท่าศรีษะสูง ช่วยให้น้ำคราวปลาไหลสะดวก ป้องกันการขังของน้ำคราวปลาที่มีเชื้อ
1.แนะนำ ดูแลให้ได้รับยา ATB ตามแผนการรักษาของแพทย์ให้ครบถ้วน
6.ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ ร่วมกับ Oxytocin
7.ถ้ามีการปวดมดลูกที่รุนแรงหรือไม่สุขสบายจากการปวดท้อง ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
8.ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อต้องแยกหญิงหลังคลอด
9.แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์และล้างมือทำความสะอาดอยู่เสมอ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ระดับยอดมดลูกโตกว่าที่ควรจะเป็น
เจ็นที่ข้าง คอมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพราะเชื้อ
เจาะเลือด
การซักประวัติ/อาการและอาการแสดง
มีไข้สูงมากกว่า 38.8 องศาเซียวเซียส
ปวดท้องน้อย
น้ำคราวปลามีกลิ่นเหม็น
สาเหตุ
1.การตรวจภายใน
2.ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์จริง
3.การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
4.การผ่าตัดที่มดลูก
5.การตรวจ Inter electrical monitoring
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ยกเว้นในรายที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น parametrial phlegmons การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด เป็นต้น
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ (Localizied infection)
การวินิจฉัย
แผลมีการอักเสบ บวม แดง
บางครั้งเป็นฝีหนอง
เจ็บแผลฝีเย็บมาก
แผลจะแยก
จะมีไข้วันที่ 2 ของการคลอด
ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไม่ออก
การรักษา
2.ถอดไหมที่เย็บและเปิดแผลทั้งหมด
3.ให้ยาชา 1% xylocain jelly ทาที่แผล
1.การให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
4.ตัดเนื้อเยื่อที่ตายออกทั้งหมด
5.ทำความสะอาดแผลวันละ 2 ครั้ง ด้วย betadine
6.ให้ hot sitz bath
7.ประเมินลักษณะแผล ถ้าแผลสีชมพู ให้เย็บฝีเย็บโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
การพยาบาล
4.ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
5.กระตุ้นให้ลุกเดินบ่อยๆ ให้เลือดช่วยไปเลี้ยงที่แผลดีขึ้น
3.เมื่อแผลดูขึ้น ให้แช่ก้นวันละ 2-3 ครั้ง
6.แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เมื่อชุ่ม
2.ดูแลความสะอาด บริเวณอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก โดยยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้อ
7.ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินการไข้
1.ติดตามประเมินผลแผลฝีเย็บทุกวัน โดยให้หญิงหลังคลอดนอนตะเเคง ดีงแก้มก้นขึ้นไป ตรวจดูอาการแดง บวม จำนวนและชนิดของสิ่งที่ซึมจากแผล
8.ให้กำลังใจ อธิบายพยาธิสภาพของการติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ การรักษาและการปฏิบัติตน
สาเหตุ
เกิดจากการปนเปื้อนของเเบคทีเรียขณะคลอด
ความหมาย
การติดเชื้อบริเวณฝีเย็บ หรือบริเวณที่มีการฉีกขาดของฝีเย็บ ช่องคลอดหรืออวัยวะสืบพันธ์ภายนอก ซึ่งเป็นการติดเชื้อที่พบบ่อยที่สุดแต่ไม่รุนแรงมากนัก
การอักเสบของเยื้อบุเชิงกราน (Parametritis)
การพยาบาล
3.จัดท่า Semi-fower
4.ดูแลให้ได้รับน้ำประมาณวันละ 3,000-4,000 ml
2.สังเกตุการเปลี่ยนแปลงของอาการอย่างใกล้ชิด
5.ให้กำลังใจ พูดคุยเปิดโอกาสให้ซักถามและอธิบายถึงพยาธิสภาพของโรค อาการ อาการแสดง และการรักษาแบบคร่าวๆ
1.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
แนะนำการปฏิบัติตัว ขณะอยู่โรงพยาบาล และเมื่อกลับบ้าน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำ
สาเหตุ
มีการติดเชื้อที่ช่องคลอดและปากมดลูก ซึ่งทวีความรุนแรงทำให้เกิดการติดเชื้อลุกลาม
การวินิจฉัย
มีไข้สูง 38.9-40 องศาเซลเซียส
หนาวสั่น มักเป็นเกิน 7 วันขึ้นไป
กดเจ็บที่ท้องน้อย อาจเป็นด้านใดด้านหนึ่ง
ตรวจพบมดลูกโตและเคลื่อนไหวได้น้อย
การอักเสบเยื่อบุช่องท้อง(Peritonitis)
ความหมาย
เป็นภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงแต่พบได้น้อย เป็นการอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง ที่เชื้อลุกลามมาจาการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก หรือเยื่อบุอุ้งเชิงกราน ไปตามท่อน้ำเหลืองหรือทางแปลผ่าตัดในมดลูก จนทำให้เกิด septicemia ได้
สาเหตุ
2.แผลผ่าตัดในมดลูกแยก หรือเนื้อเน่าเปื่อย
3.การอักเสบของเยื่อบุในอุ้งเชิงกราน
1.มีการอักเสบติดเชื้อในโพรงมดลูก
4.ฝีที่ท่อรังไข่และรังไข่แตก
การวินิจฉัย
มีไข้สูง อุณหภูมิ 39-40 องศาเซลเซียส
ชีพจร 160 ครั้ง/นาที
ท้องเสีย คลื่นใส้อาเจียน
ลำใส้ไม่เคลื่อนไหว
หน้าท้องโป่งตึง ปวดท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กรณีที่มีไข้สูง จะพบเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด
กดเจ็บผนังหน้าท้อง
มีอาการท้องอืด
การรักษา
6.ผ่าตัด ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจต้องตัดมดลูก ล้างเอาหนองออก
5.ให้ยาแก้ปวด
4.ให้สารต้านจุลชีพ หลายอย่างรวมกันให้เหมาะสม
3.งดน้ำงดอาหารทางปาก
2.ให้ gastric suction เพื่อลด distension
1.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
การพยาบาล
3.ดูแลให้ได้รับยาATBและสารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
4.ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
2.ให้นอนท่า semi-fower เพื่อให้หน้าท้องหย่อน
5.ยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้อ
1.ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพเพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
6.ให้การพยาบาลตามอาการ และนำการปฏิบัติตัวขณะอยู่รพ. และกลับบ้าน
มดลูกเข้าอู่ช้า (Subinvolution of uterus)
การพยาบาล
2.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง โดยกระตุ้นให้มีการขับถ่ายปัสสาวะ
3.แนะนำวิธีที่ทำให้น้ำคาวปลาไหลสะดวก เช่น ให้นอนคว่ำ ใช้หมอนรองใต้ท้องน้อย ลุกเดิน เป็นต้น
1.คลึงมดลูกให้รัดตัวก่อนวัดระดับยอดมดลูก
การวินิจฉัย
มีภาวะเลือดออกมาก
ยอดมดลูกยังสูงกว่าระดับกระดูกหัวหน่าว สัมผัสนุ่ม
น้ำคาวปลาสีไม่จางลงภายใน 2 สัปดาห์
ปวดหลังร่วมด้วยถ้ามีการติดเชื้อในโพรงมดลูก
ระดับยอดมดลูกไม่ลอดต่ำลง
อาจมีตกขาว
การประเมินผล
2.ไม่มีภาวะติดเชื้อในโพรงมดลูก
3.น้ำคาวปลาสีจางลงจนหมดไป
1.ระดับยอดมดลูกต่ำลงจนกระทั่งคลำไม่ได้
สาเหตุ
3.มีการอักเสบติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก
4.มารดาหลังคลอดไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
2.มีเศษรกหรือเยื้อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
5.ในรายที่มีมดลูกคว่ำหรือคว่ำหน้ามากจำทำให้น้ำคราวปลาไหลไม่สะดวก
1.ความตึงตัวของการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกไม่ดี ได้แก่ มารดาครรภ์หลัง ครรภ์แฝด
ในรายที่มีเนื้องอกนอกมดลูกทำให้มีการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
นางสาวธิดารัตน์ แพงวงษ์ รหัสนักศึกษา 602701032