Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, ปิยะธิดา ขอนแก่น …
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
Wilm tumor หรือ Nephroblastoma
มะเร็งไต
คือ ภาวะเนื้อไตมีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกในไต มักเป็นข้างใดข้างหนึ่ง
พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
อาการที่พบ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
Chemotherapy
2.ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (Intensive of consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะสงบแล้ว
1.ระยะชักนำให้โรคสงบ(Induction phase)
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาสั้นมากที่สุด ไขกระดูกสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ปกติ 4-6 week
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู้ระบบประสาทส่วนกลาง
4.ระยะควบคุมโรคสงบ (Maintenance phase or continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุม และรักษาโรคอย่างถาวร
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด IT IM IV
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ Vein ต้องระวังการรั่วของยาออกนอกหลอดเลือด ที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
ทางช่องไขสันหลัง Intrathecal
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute lymphoblastic leaukemia)
พบบ่อยในเด็กช่วงอายุ 2-5ปี
อาการ
เลือดออกง่าย
มีเม็ดเลือดขาวมากแต่ทำหน้าที่ไม่ได้ต่อสู้เชื้อโรคไม่ได้
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะต่างๆ
ความหมาย
Leukemia
คือ มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของstem call ใน bone marrow แบ่งตัวผิดปกติ ไม่สามารถdifferentiate ได้ส่งผลให้จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อน เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วทั่วร่างกาย
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
AML พบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก พบในชายมากกว่าหญิง
CLL พบได้บ่อยในผูใหญ่
ALL พบในช่วง2-5ปี
CML พบได้น้อย
แบ่งได้ 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง(Lymphoma)
เป็นส่วนหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกัน ประกอบด้วย ม้าม ไขกระดูก ต่อมทอนซิล ต่อมไทมัส
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ บริเวณคอ(Cervical Lympnode)
อาการ
ติดเชื้อ
มีอาการเจ็บที่ก้อน
อาการลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
คลำพบก้อนบริเวณ คอ รักแร้ ขาหนีบ เต้านม ม่เจ็บ
การวินิจฉัย
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การตรวจกระดูก
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การตรวจPET scan
การตรวจไขกระดูก
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
การรักษา
การใช้ยาเคมีบำบัด
การฉายรังสี
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียง
ผลต่อเลือด
ทำให้ไขกระดูกผลิตเลือดน้อยลง
ผลต่อทางเดินอาหาร
ทำให้เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน แผลในปากและคอ
ผลต่อระบบผิวหนัง
ทำให้ผมร่วง
ผลต่อทางเดินปัสสาวะ
ตับ
เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดขาวต่ำ
เกร็ดเลือดต่ำ
วางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การดูแล ช่องไขสันหลัง
การดูแลป้องกันแผลในปาก
ด้วยการบ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่อง
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
การดูแลปัญหาซีด
แพทย์จะให้เลือด
การดูแลป้องกันไม่ให้เลือดออก
ปิยะธิดา ขอนแก่น รุ่น36/1 เลขที่ 72 612001073