Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.3, Uterine Rupture - Coggle Diagram
-
Uterine Rupture
การรักษา
-
-
- กรณีทารกเสียชีวิต ดูแลสุขภาพจิตของมารดาและครอบครัว
- Shock ให้ ringer's lactate solution เตรียมเลือด และให้ O2
สาเหตุ
- Traumatic rupture : เกิดจากอุบัติเหตุ
- Spontaneous rupture : มดลูกแตกเอง ซึ่งเกิดจากสภาวะของมารดาและทารกในครรภ์
- Rupture previous uterus scar : มีรอยแผลเดิมที่มดลูก ex. เคยผ่าตัดคลอด
-
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงก่อนมดลูกแตก
- อาจพบเลืออดออกทางช่องคลอด
-
- ตรวจพบ tetanic contraction หรือพบ Bandl' ring
-
-
- กระสับกระส่าย, PR เบาเร็ว, RR ไม่สม่ำเสมอ
อาการแสดงหลังมดลูกแตก
-
- ผู้คลอดรู้สึกเหมือนมีอะไรแยก
- PV พบส่วนนำลอยสูงกว่าเดิม
-
-
-
ชนิดของมดลูกแตก
- ทารกหลุดเข้าไปในช่องท้อง และมักจะเสียชีวิต
- การฉีกขาดของกล้ามเนื้อมดลูกทั้ง 3 ชั้น จนทะลุถึงเยื่อบุช่องท้อง
- Incomplete uterine rupture
- การฉีกขาดของกล้ามเนื้อมดลูก 2 ชั้น ซึ่งเป็นมดูกชั้นใน และชั้นกลาง
- ทารกยังคงอยู่ภายในโพรงมดลูก
พยาธิสภาพ
- ในภาวะปกติมดลูกจะมีการหดรัดตัวทำให้กล้ามเนื้อมดลูกส่วนล่างมีการยืดขยายและบางออกเพื่อให้ส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำลง ซึ่งถ้ามดลูกมีการหดรัดตัวที่ถี่และรุนแรงมากจนมดลูกส่วนล่างยืดขยายออกและบางมากจนกระทั่งเห็นมดลูกเป็นสองลอนทางหน้าท้อง เรียกว่า pathological retraction ring หรือ Bandl’s ring ซึ่งเป็นอาการที่แสดงให้เห็นถึงการหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรงและอาจทำให้มดลูกแตกตามมาได้