Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10 การพยาบาลเด็กที่ปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, นางกมลชนก ทองมาก เลขที่6…
บทที่10 การพยาบาลเด็กที่ปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
Tumorlysis Syndrome : TLS
,
.
เกิดจากการสลายของเซลล์มะเร็งจำนวนมากอย่าง
รวดเร็วจากการได้รับยาเคมีบำบัดครั้งเเรก
ทำให้เกิดการปลดปล่อยส่วนประกอบของเซลล์ ออกมา
เช่น กรดนิวคลีอิก โพแทสเซียม และฟอสฟอรัสเข้าสู่กระแสเลือดอย่างมากภายในระยะเวลาสั่นๆ จนเกินขีด
.
.
ความผิดปกติของelectrolyteที่พบบ่อยได้แก่
.
1.ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง มักพบในช่วง 12-24ชั่ว โมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง และมักพบความผิดปกติแรกที่สังเกตได้ใน TLS
2.ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง มักพบในช่วง 24-48ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง โดยเป็นสาเหตุที่เกิดภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำตามมาส่งให้เกิดการชักเกร็ง (tetany)หัวใจเต้นผิดจังหวะและชักได้
3.ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง มักพบในช่วง 48 – 72 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง ซึ่งเกิดจากการสลายของกรดนิวคลีอิก กลุ่มพิวรีน (purine) ได้เป็นhypoxanthine และ xanthine ตามลำดับ
.
สาเหตุ และ ปัจจัยเสี่ยงของการเกิด TLS
,
เกิดขึ้นบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่มีปริมาณเซลล์มะเร็งจำนวนมาก
เป็นมะเร็งชนิดที่มีความไวต่อเคมีบำบัด โดยปกติ TLS
มักเกิดภายใน 72 ชั่วโมง ภายหลังการรักษาด้วยเคมีบำบัดในผู้ป่วยleukemia และ lymphoma
,
อาการและอาการแสดง
.
มักพบอาการทางระบบทางเดินอาหารภาวะกรดยูริกในเลือดสูงอาจพบภาวะง่วงซึม (lethargy)
อาการแสดงของภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตัน (obstructive uropathy) หรือไตวาย ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
อาจพบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ชา (paresthesia)หัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งอาจรุนแรงขึ้นจึงชั้น เสียชีวิตได้
.
การวินิจฉัย
วินิจฉัยจากอาการทางคลินิก ร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฎิบัติ
มะเรง็เม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน
Acute lymphoblastic ledaukemia
.
เป้นมะเร็งที่พบมากที่สุดในเด็ก ในช่วงอายุ2-5 ปี
ความหมาย
.
Leukemia หมายถึง มะเรง็ของระบบโลหติ
เกิดความผิดปกติของเซลล์ต้นกําเนิดทีไขกระดูกเกิดการแต่งตัวผิดปกติ
ไม่สามารถเป็นเซลล์ตัวเเก่ได้ส่งผลใหเ้ม็ดเลือดขาวตัวออ่นเยอะขึ็น
สรา้งเม็ดเลือดเเดงเเละเกรด็ เลือดลดลง
และทําใหเ้ลือดออกง่าย ติดเชื็อ ง่าย ซีด
เเบ่งออกเป็น 2 ชนิด
.
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia (พบมากเป็นส่วนใหญ่)
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
.
.
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน ALL
พบมากในทุกช่วงยังเเต่จะพบมากในเด็ก 2-5 ปี
มะเรง็เม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALM
พบมากในผู้ใหญ่ชาย
มะเรง็เม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
พบบ่อยในผู้ใหญ่มีความชุกของโรคตามอายุที่มากขึ้น
มะเรง็เม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
ชนิดที่พบได้น้อย พบได้ทั้ง2เด็กและผู้ใหญ่
ในเด็กประมาณ80เปอรเ์ซ็นพบในเด็กอายุมากกวา่ 4ปี
สาเหตุของมะเรง็เม็ดเลือดขาว
.
ยังไม่ทราบสาเหตุที่เเน่ชัด
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม
.
ดาวน์ซินโดรม
ครอบครวัที่มีสมาชิกเป็น ALL
ในฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็ง ALL
ปัจจัยทางด้านสิ่งเเวดล้อม
.
การมีประวตั ิได้รับยาเคมีบําบัดในการรกัษาโรคมะเรง็ชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีบางชนิด เช่น เบนซิน
การเกิดจากการได้รบัสารเคมีต่างๆทีเป็นพิษ เช่น ควัน บุหรี่
การมีประวตั ิได้รับรังสีไอออนไนซ์
การวินิจฉัย
เจาะไขกระดูก ว่ามีการแบ่งตัวผิดปกติในไขกระดูดจริงหรือ
ไม่เจาะหา Blast cell
อาการ
.
อาการเเรก เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด ออ่ นเพลีย
เลือดออกง่ายเนื่องจากเกร็ด เลือดต่ำ
ติดเชื้อ ง่าย มีไข้
มีก้อนขึ้นที่ขาหนีบ ต่อมน้ำเหลือง ขา คอ มีตบม้ามโต
มะเร็งไต Will Tumor/Nephroblastoma
.
เนื้อไตชนพาเรนไตมามการเจรญผด
ปกติกลายเป็นก้อนเนองอกภายในเนื้อไต
จะมขนาดใหญ่ มกเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
ไม่คล่ำบ่อย อาจทำให้ก้อนแตกหรือแพร่กระจายของมะเร็ง
Neuroblastoma
.
อาการที่นํามาพบแพทย์มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง ตาโปนรอบ ตาช้ำ
การตอบสนองต่อการรกัษาไม่ดี
ต้นกําเนิดมากจากเซลล์ของระบบประสาท
ตายมาก
เนื้องอกชนิดรา้ยเเรง พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกวา่ 5ปี
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดเเทน
ด้วยการใหเ้ลือด ในระยะก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ด เลือด
ให้เกรด็ เลือดก่อนการให้ยา
วิธีการให้ยาเคมีบําบัด IT IM IV
.
ทางหลอดเลือด ระวังการรั่วของยาออกยาออกเล้นเลือด
ทางช่องไขสันหลัง
ทางกล้ามเนื้อ หลังฉีดระวังเลือดออก
ยาเคมีบําบัดที่ใช้บ่อย
.
3.Methotrexate กดการเจรญิ เติบโตของเซลล์
4.Cytarabine(ARA-c) ขัดขว่างการสรา้ง DNA
2.Mercaptopurine (6-MP)รกัษามะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันยัยยั้งกรดนิวคลิอกิก
1.Cyclophosphamide รักษามะเรง็เม็ดเลือดขาว ทําใหเ้พิ่มจํานวนไม่ได้
Meana ป้องกันภาวะเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะอักเสบจาการใช้ยาCyclophosphamide
Ondasetron ป้องกันการคลื่นไส้อาเจียน
Bactrim ป้องกันการติดเชื้อฉ้วยโอกาส
Ceftazidime ป=องกันการติดเช2อื เนื่องจากมีไข้หลังได้รับยาเคมีบําบัด
Amikin ป้องกันการติดเช2อื เนื่องจากมีไข้หลังได้รบั ยาเคมีบําบัด
การรกัษาด้วยยาเคมีบําบัด Chemotherapy
1.ระยะชักนํ้าใหโรคสงบ(Induction phase)
.
เป็นการใช้ยาเพื่อทําลายเซลล์ในเวลาอันสั่นที่สุด
ทําใหไ้ขกระดูกสรา้งเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ปกติ
vincristine/ adriamycin/ L-asparaginase /Glucocorticoid
ใช้ระยะเวลา 4-6 สัปดาห์
2.ระยะเวลาให้ยาเเบบเต็มที่ (intensive or consolidatition phase)
.
ใช้ระยะเวลา4สัปดาห์
Metrotrexate/6-MP/cyclophosephamide
เป้นการใชย้ าหลายชนิดอยูด็วยภายหลังโรคสงบแล้ว
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
CNS prophylaxis phase
.
เป็นยาป้องกันไม่ใหโ้รคลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
Metrotrexate/hydrocortisone /ARA
4.ระยะควบคุมโรคสงบ
maintenance phase or continuation therapy
.
เพื้อควบคุมโรคเเละรักษาอย่างถาวร
การให้-MPโดยการรบัประทานทุกวันร่วมกับกรให้Metrotrexate
ภาวะ Febrile neutrope
.
สาเหตุ
.
อาจจะเกิดขึ้นได้จากโรคมะเร็งเองพบได้ในผู้ป่วยลิวคีเมีย (acute leukemia) ที่มี
เซลล์มะเร็งในกระแสเลือดมากมีผลให้จำนวนเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล(neutrophils) ในเลือดลดลงหรอืการรกัษา
ด้วยยาเคมีบําบัดซีงมีฤทธิกดการทําางานของไขกระดูกหรอืการฉายรังสีที่
มีปริมาณสูงหรือผลของทั้ง2 อย่างร่วมกันเสี่ยงต่อการติดเชื้อมากกว่า เด็กที่เป็นมะเร็ง
.
.
คือ ภาวะที่ผู้ป่วยมีจําานวนของเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล
(neutrophil) ในเลือด(absolute neutrophil count: ANC)
น้อยกวา่ 500 เซลล์ลาบีมลัมหรือมีANC น้อยกว่า1000
เซลล์ลบแต่มีแนวโน้มวา่ จะลดลงจนน้อยกวา่ 500 เซลล์
การใช้ยาต้านเชื้อรา
.
ผู้ป่วยที่มีภาวะนิวโทรพีเนียนานกวา่ 1 สัปดาห์มีโอกาสเกิด systemic fungal infectionสูง ดังนั้นผู้ป่วย
ที่มีfebrile neutropenia นานกว่า5 วัน และไม่มีแนวโน้มที่ภาวะนิวโทรพีเนียจะดีขึ้น
ยาต้านเชื้รา ได้แก่ amphotericin B มีผลดีต่อการรกัษา
.
ผลกระทบมากที่สุด คือ พิษต่อไต ท ำให้creatinine ในเลือดสูงขึ้น และเกิดโรคไตผิดปกติในการขับกรด
ผลข้างเคียงคือ มีไข้หนาวสั่นคลื่นไส้/อาเจียน ความดันโลหติต่ำ
ระดับโปตัสเซียมและแมกนีเซียมในเลือดต่ำ และอาการแพ้ยา
รุนแรงการใช้granulocyte colony-stimulating factor
.
.
การใช้G-CSF อาจจะชว่ยลดระยะเวลาของการเกิดภาวะนิวโทรพีเนียหลังการได้รบั ยาเคมีบำบัด
ช่วยให้มีการผลิตเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิล ได้เรว็กวา่ ที่ร่างกายจะผลิตได้เอง
ควรเริ่มการให้G-CSF หลังจากวนั สุดท้ายในแต่ละรอบของการใหย้ าเคมี
G-CSF หลังจากวนั สุดท้ายในแต่ละรอบของการให้ยาเคมีบำบัดทีมีฤทธิกดไขกระดูกผ่านไปแล้ว 24
การดูเเลเด็กที่ได้รับยาเคมีบําบัด
ผลข้างเคียงของยาเคมีบําบัด
ผลต่อระบบเลือด ทําใหไ้ขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่างๆ ได้น้อยลงจึงจําเป็นต้องตรวจเลือดก่อนเริ่มยาเคมีบําบัดทุกครั้ง
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ตับ
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบําบัด
.
.
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รบั ยาเคมีบําบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง
การดูแลป้องกันการเกิดแผลใน
3.การรับประทายอาหารปรุงสุก
์
4.การดูแลปัญหา
5.การดูเเลป้องกันเลือดออกง่ายหยุด
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
.
.
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
มะเร็งต่อมน้ำเหลิงชนิตฮอตงกิน พบต่อมน้ำเหลืองโตเป็นปี
ไม่มีอาการเจ็บปวด สักษณะฉพาะพบReed-sternberg cell
อาการเร็ว และรุนแรง อาฉมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอก
หรือในระบบประสาท
Burkitt Lymphoma มีต้อกำเนิดจาด b-cell
มีการแทรกศระจานในเนื้ออ มีก้อนนื้องอกที่โตเร็ว
การวินิจฉัย
.
การตรวจชนิดเนื้อ
MRI
การตรวจกระดูก
การตรวจ PET scan
การตรวจทางเวชศสาตรน์ ิวเคลียร
การตรวจไขกระดูก
CT scan
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
.
คันทั่วร่างคาย
ดสำพบก้อน ไม่มีอาการเจ็บ
มีไข้ มนาวสั่น เงื่อออกตอนกลางคืน
เบื่ออาหารน้ำหนักลต
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะตวก ต่อมหอนริลโต
ปวดศีรษะ พบในมะเร็งค่อมน้ำหลืองในระมบประสาท
.
อาการในระยะลุกลาม
ยิด เลือดออกง่าย
แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย ห้องโตจากการมีน้ำในช่องท้อง
เนวทางการรักษาในปัจจุบัน
.
การใช้ยาเคม็บำบัด
การฉายรังสี
การรักษาด้วยครปลูกถ่ายเซลล์ดันกำเนิด
นางกมลชนก ทองมาก เลขที่6 รุ่น 36/1 612001006