Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติ/ พฤติกรรมของมนุษย์ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย
หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลคู่
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
ประเทศที่ใช้ระบบศาลคู่
ฝรั่งเศส
เบลเยี่ยม
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่
มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของ
แต่ละศาลโดยเฉพาะ
ย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่ง
ในอีกศาลหนึ่งไม่ได้
ระบบศาลเดี่ยว
เป็นคดี แพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง
หรือคดีประเภทอื่นๆ
ประเทศที่ใช้ระบบนี้ ได้แก่
สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจ
วินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ศาลของประเทศไทย
ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลปกครอง
ศาลทหาร
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
ประมวลกฎหมาย
(Code of Law)
การรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
เช่น
ประมวลกฎหมายอาญา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
พระราชกำหนด
(Royal Enactment)
กฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอานาจให้แก่
ฝ่ายบริหาร
ออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วน
พระราชบัญญัติ
(พรบ.) (Act)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
ผู้ที่สามารถเสนอร่างกฎหมาย
คณะรัฐมนตรี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
พระราชกฤษฎีกา
(Royal Decree)
กฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด
ออกโดยฝ่ายบริหารที่อาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ
ไม่ต้องผ่านความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ
รัฐธรรมนูญ
(Constitutional Law)
อำนาจนิติบัญญัติ
อำนาจบริหาร
เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
อำนาจตุลาการ
กฎกระทรวง
(Ministerial Regulation)
ออกตามความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน
กฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
อื่นๆ
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
ข้อบัญญัติเมืองพัทยา
ข้อบังคับท้องถิ่น
ข้อบัญญัติจังหวัด
เทศบัญญัติ
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติ
ลักษณะและระบบของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องกำหนดขึ้น
โดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ
รัฐสภา รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กฎหมายต้องบังคับ
ใช้โดยทั่วไป
เมื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้ หรือทำให้เสียประโยชน์หรือเอื้อประโยชน์ให้แก่บุคคล ใดโดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้
กฎหมายต้องมีลักษณะ
เป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทำได้หรือไม่ได้
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
กฎเกณฑ์ที่กำหนดความประพฤติของบุคคล ดังนั้นเพื่อให้บุคคลนั้นปฏิบัติตาม จึงจำต้องมีสภาพบังคับในกรณีที่มีการผ่าฝืนกฎหมาย
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี
หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
(Common law system)
มีต้นกำเนิดในชนเผ่าพื้นเมืองของประเทศอังกฤษ
จัดตั้งศาลและส่งผู้พิพากษาไปตัดสิน คดีทั่วประเทศ
จนเกิดเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐาน และเป็นกฎหมายจากคำตัดสินของผู้พิพากษา (Judge made law) ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
หนังสือรวบรวมคำพิพากษาในอดีตมีชื่อว่า Yearbooks
แต่ปัจจุบันนิยมเรียกว่า Law reports
ประเทศที่ใช้กฎหมาย
ระบบจารีตประเพณี
ประเทศอังกฤษ
สหรัฐอเมริกา
อินเดีย
แคนนาดา
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
มีแหล่งกำเนิดจากชาวโรมัน
คำพิพากษาของศาลเป็นเพียงตัวอย่างในการประยุกต์
พิจารณาคดีจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่เฉพาะ เรื่อง
กฎหมายกับข้อเท็จจริง พิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
หลักเกณฑ์ของระบบนี้มาร่างเป็นประมวลกฎหมาย ของประเทศ
ประเทศที่ใช้
เบลเยี่ยม
อิตาลี
ฝรั่งเศส
เยอรมัน
เดนมาร์ก
ออสเตรีย
สเปน
สวิสเซอร์แลนด์
ญี่ปุ่น
ไทย
จีน
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
สภาพบังคับที่มีผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทำให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายสามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
สภาพบังคับที่มีผลร้าย
โทษทางอาญา
จำคุก
การเอาตัวไปคุมขังไว้ในเรือนจำตามกาหนดเวลาที่ศาลพิพากษา
กักขัง
โทษที่ให้กักตัวผู้กระทำความผิดไว้ในสถานที่กักขัง
ประหารชีวิต
การนำตัวผู้กระทำความผิดไปฉีดยาพิษให้ตาย
ปรับ
โทษที่ผู้กระทำความผิดต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
มิฉะนั้นต้องถูกยึดทรัพย์ใช้ค่าปรับ หรือถูกกักขังแทนค่าปรับ
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์
และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายเอกชน
(Private Law)
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับ
เอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดำเนินธุรกิจแบบเอกชน
ตัวอย่างกฎหมายเอกชน
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายแพ่ง
อื่นๆ
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ
กฎหมายแรงงาน
กฎหมายประกันสังคม
กฎหมายระหว่างประเทศ
(International Law)
แผนกคดีบุคคล
พระราชบัญญัติสัญชาติ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันของกฎหมาย
แผนกคดีอาญา
กฎหมายว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
กฎหมายความ ร่วมมือระหว่าง
ประเทศในทางอาญา
แผนกคดีเมือง
สนธิสัญญาสงบศึก
กฎบัตรสหประชาชาติ
สนธิสัญญาเกี่ยวกับเขตแดน
กฎหมายมหาชน
(Public Law)
รัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอานาจ
เหนือกว่าประชาชน
ตัวอย่างกฎหมายมหาชน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐกับประชาชน
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่ง
กำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
กฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอกนาจในการ
บัญญัติกฎหมายใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
กฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดย
องค์การระหว่างประเทศ
สหประชาชาติ
อนุสัญญา
สนธิสัญญา
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์
และเนื้อหาของกฎหมาย
กฏหมายการเงินการคลัง
กฎหมายธุรกิจ
กฎหมายอุตสาหกรรม
กฎหมายสาธารณะสุข
กฎหมายระเบียบราชการ
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะ
การใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิหรือ
หน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
เช่น
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กฎหมายอาญา
กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
กฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการ
พิจารณาคดีของศาล
เช่น
วิธีพิจารณาความแพ่ง
วิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพ
บังคับทางกฎหมาย
กฎหมายอาญา
กฎหมายปกครอง
กฎหมายแพ่ง