Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำ นาจกำหนดขึ้น
เพื่อควบคุมความประพฤติ/ พฤติกรรมของมนุษย์ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย เกิดความไม่สงบขึ้นในสังคม
หากผู้ใดฝ่า ฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law) เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุด
กำหนดรูปแบบการ ปกครองประเทศ และวางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐหรืออำนาจอธิปไตย
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด และประมวลกฎหมายเป็นกฎหมายที่อยู่ในลำดับชั้นเดียวกัน และรองจากรัฐธรรมนูญ
พระราชบัญญัติ (พรบ.) (Act)
ประมวลกฎหมาย (Code of Law)
พระราชกำหนด (Royal Enactment)
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree) เป็นกฎหมายที่กำหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของ พระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนด
กฎกระทรวง (Ministerial Regulation)
เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้า หน่วยงานองค์กร ผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงานหรือคณะกรรมการ
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้า หน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
7.อื่นๆ ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลเดี่ยว เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรม
มีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบศาลคู่ เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัย
ชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
ระบบศาลของประเทศไทย เป็นระบบศาลคู่ แยกเป็นอิสระจากกัน
มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละ ศาลโดยเฉพาะ จะย้ายจากศาลหนึ่งไปดำรงตำแหน่งในอีกศาลหนึ่งไม่ได้
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือ กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลอื่น
2.1 ศาลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณา และชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก เมื่อมีการฟ้องร้องและนำเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
ศาลแพ่ง เป็นศาลยุติธรรมชั้นต้น
ศาลอาญา เป็นศาลชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงในเขต ท้องที่กรุงเทพมหานคร
2.2 ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court) เป็นศาลลำดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น
2.3 ศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด
ศาลปกครอง (Administrative Court)
เป็นศาลที่จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย
ศาลทหาร ได้มีขึ้นเป็นของคู่กันมาตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ
ลักษณะและประเภทของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องกำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี
หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์
และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายมหาชน (Public Law)
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายปกครอง
กฎหมายอาญา
กฎหมายเอกชน (Private Law)
กฎหมายแพ่ง
กฎหมายพาณิชย์
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
แผนกคดีเมือง
แผนกคดีบุคคล
แผนกคดีอาญา
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกำเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายในเป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐ
ที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้น ใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิ
หรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ
กฎหมายวิธีสบัญญัติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล