Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ - Coggle Diagram
การพยาบาลภาวะล้มเหลวหลายระบบ
ความหมาย สาธารณภัย
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ อย่างกะทันหันหรือค่อย ๆเกิดขึ้น เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ประเภทของสาธารณภัย
เกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ภัยแล้ง
น้ำท่วม
ตามสภาพภูมิประเทศ
อุทกภัย หิมะถล่ม
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก
แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด
ภัยทางชีวภาพ
การระบาดของโรค
เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
การคมนาคม
การอุตสาหกรรม
ไฟไหม้อาคารสูง
สิ่งก่อสร้างถล่ม
Mass Casualty
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
Multiple-Patient Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
Multiple-Casualt Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ภายในงานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือโรงพยาบาลอื่น
Mass Casualt Incident
มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ฝ่ายการพยาบาล เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ งานโภชนาการ ห้องยา ห้องผ่าตัด หน่วยขนย้าย หน่วยรังสี เจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยเวช-ระเบียน และต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
วัตถุประสงค์ของการจัดการสาธารณภัย
หลีกเลี่ยงการสูญเสียชีวิต
ป้องกันความเสียหายของทรัพย์สิน รวมถึงการสูญเสียทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อมทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลโดยตรงต่อสังคมนั้นๆ
ขั้นตอนการปฏิบัติการ
ตามวัฏจักรของสาธารณภัย
ก่อนเกิดภัย
. การป้องกันและลดผลกระทบ
การเตรียมความพร้อมรับภัย
ระหว่างเกิดภัย
การตอบโต้และบรรเทาทุกข์
(การจัดการในภาวะฉุกเฉิน)
หลังเกิดภัย
การฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
วงจรการจัดการภัยพิบัติเชิงรุก
การลดภัย/ลดความเสี่ยง
การประเมินความล่อแหลม/ภัย
ป้องกันภัย/บรรเทาภัย
เตรียมความพร้อม
การเตือนภัยล่วงหน้า
ผลกระทบจากภัยพิบัติ
กู้ภัยและบรรเทาภัย
วิเคราะห์และประเมินความเสียหายและความต้องการการช่วยเหลือ
1 more item...
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
โดยเน้นหนักด้านความรวดเร็ว วิธีการรักษาที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือ ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ มีการขนย้ายและการนำส่งผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้แก่โรงพยาบาลที่เหมาะสมได้อย่างมีคุณภาพ ตลอด 24 ชั่วโมง
การพยาบาลสาธารณภัย
หลักสำคัญของ
การเข้าช่วยเหลือ
Safety:
ประเมินความปลอดภัย
Scene:
ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation:
ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์และผู้ดูภาพรวมของการปฏิบัติการทั้งหมด
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในที่เกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จําเป็นต้องใช้ในที่
เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจําเป็นของผู้ป่วย โดยการใช้หลักการของ MASS Triage Model( Move, Assess, Sort และ Send) เพื่อคัดแยกผู้ป่วยแบ่งเป็นกลุ่ม ตาม ID-me
( Immediate, Delayed, Minimal, Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent
สัญลักษณ์สีแดง
Urgent
สัญลักษณ์ สีเหลือง ผู้ป่วย
กลุ่มนี้สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต
Non urgent
สัญลักษณ์สีเขียว เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต
ผู้ป่วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษา
จะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
เครื่องมือการคัดแยกผู้บาดเจ็บ
ESI (USA)
Canadian Triage and Acuity Scale (CTAS)
Australasian Triage Scale (ATS)
Manchester Triage Scale (U.K.)
บทบาทของพยาบาล
การเตรียมความพร้อม
การปกป้อง
ประเมินสถานการณ์ภัย
การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การสื่อสาร
การสั่งการ
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
การักษา
ขนส่ง
การฟื้นฟูบูรณะ
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางการสาธารณสุข
ทางเศรษฐกิจ
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางสาธารณูปโภค
ทางสิ่งแวดล้อม
การประเมินสภาวะคร่าวๆ โดยเร่งด่วน
Primary assessment
A ได้แก่ Airway maintenance with cervical spine protection
B ได้แก่ Breathing and ventilation
C ได้แก่ Circulation with hemorrhage control
D ได้แก่ Disability : Neurologic status
E ได้แก่ Exposure / Environment control
การประเมินอาการทางระบบประสาทอย่างง่าย
AVPU
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
การเตรียมรับผู้ป่วย
Prehospital phase เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ ที่เกิดเหตุ
airway maintenance
control of external bleeding and shock
immobilization
immediate transport ไปยัง โรงพยาบาล
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
A = Allergies
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง
หลักการจำ OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลักการจำ PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
เครื่องชี้วัดในการบ่งบอกระดับความรุนแรงเพื่อการ คัดแยกผู้ป่วย
trauma score
glasgow coma score
blood pressure
pulse rate
capillary filling
respiration
Score Rating Definition
5 Good Recovery Resumption of normal life despite minor deficits
4 Moderate Disability Disabled but independent. Can work in sheltered setting
3 Severe Disability Conscious but disabled. Dependent for daily support
2 Persistent vegetative Minimal responsiveness
1 Death Non survival
การเตรียมรับผู้ป่วย
Inhospital phase
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
universal precaution
Multiple Organs Dysfunction Syndrome
Primary MODS
Secondary MODS
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บแต่ละอวัยวะ
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
DCAP-BTLS
D = Deformities : การผิดรูป
C = Contusions : การฟกช้ำ
A = Abrasions : แผลถลอก
P = Puncture / Penetrations : แผลที่มีวัสดุปักคา
B = Burns : แผลไหม้
T = Tenderness : ตำแหน่งที่กดนั้นมีการเจ็บ
L = Lacerations : แผลฉีกขาด
S = Swelling : อาการบวม
การรักษา
Clear airway
Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
ควรคำนึงถึงอาจได้รับบาดเจ็บหลอดอาหารด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
ปัญหาการพยาบาล
Obstruct airway
Circulatory failure
IICP
CSF rhinorrhea otorrhea
Skin infection osteomyelitis
Body image change
Malnutrition
Pain
Communication problem
Home health education
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง sternocliedomastoid
ถ้าอากาศยังไม่สามารถเข้าปอดได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่ได้เต็มที่ แต่กลับมีส่วนที่ยุบเข้าไปได้ คือ Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space และ Epigastium จะยุบตัวเข้าไปทันที
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่ลมรั่วแบบธรรมดา
ภาวะที่ลมรั่วแบบอันตราย
ภาวะที่ลมรั่วแบบมีรูติดต่อภายนอก
ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะมีน้ำ
ภาวะมีหนอง
ภาวะมีเลือด
ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่ทำให้เกิดการเบียดเมดิเอสตินั่มไปข้างใดข้างหนึ่ง
ภาวะที่ทำให้เกิดการแกว่งของเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่มีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองโตในเมอิเอสตินั่ม
ภาวะการติดเชื้อในเมดิเอสตินั่ม
ภาวะการกดต่อเมดิเอสตินั่ม
กลไกการบาดเจ็บที่ทำให้เกิด Flail chest
การหายใจแบบ paradoxical respiration
การรักษาการ
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade มีอาการสำคัญ เรียก Beck’s Traid
Engorged neck Vein
Distant heart sound
hypertonsion
ทำ Pericardiocentesis
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
Blunt trauma การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก การให้การช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Penetrating trauma เป็นการบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง แบ่งออกเป็น การบาดเจ็บที่มีแผลถูกแทงจากของมีคม และการบาดเจ็บที่ท้องที่มีแผลถูกยิง : การผ่าตัด
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
การถูกกระแทกจากทางด้านข้าง ไม่ทำให้ Ligament ฉีกขาดได้
การถูกแรงกระแทก จนทำให้ Ligament ฉีกขาดร่วมกับอวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บ ได้แก่ หลอดเลือด หรือระบบประสาท
เกิดจากแรงกระแทกด้านเดียวของเชิงกราน และเป็นสาเหตุที่รุนแรงมากที่สุด
อาการและอาการแสดง
แผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ,คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก,คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนักเรียกว่า Earle’s sign
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง(retroperitoneal hematoma) โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง (เลือดไหลเซาะลงมาใต้ inguinal ligament) หรือ เลือดคั่งในถุงอัณฑะ(จาก uroginital diaphragm ฉีกขาด) เรียกว่า Destor’s sign
การดูแลรักษาเบื้องต้น
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ไต
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การพยาบาล
ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
เฝ้าระวังให้การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพียงพอ
ดูแลให้สารน้ำไม่เกิน wedge> 18 mmHg ถ้าซีดต้องให้เลือด
ดูแลให้ยา vasopressor และ inotropic drug เพื่อรักษา perfusion pressure ของผู้ป่วย
ดูแลให้ยา diuretics และ Dopamine
ดูแลให้ sodium bicarbonate เพื่อรักษาภาวะความเป็นกรด
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
อาจใช้เครื่องช่วยหายใจ mode PEEP
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
ฟังเสียงปอด และติดตามผล chest x ray
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ ยาลดไข้และสังเกตผลข้างเคียงของยา
ส่งตรวจและติดตามผลเพาะเชื้อ เลือด ปัสสาวะ เสมหะ และสารคัดหลั่ง
ใช้หลัก aseptic technigue
ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และนน.ตัวทุกวัน