Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาการวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ กลุ่มอาการเหนื่อยโดยใช้กรณีศึกษ…
กรณีศึกษาการวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ กลุ่มอาการเหนื่อยโดยใช้กรณีศึกษาไข้ :fire:
แผนการรักษาที่ได้รับ
(Plan for treatment) :star:
การพยาบาลเมื่อแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
1.ประเมินความรุนแรงของโรคจากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
2.ตรวจสมรรถภาพปอดโดยการเป่า peakflow meter เพื่อดูค่า PEFR โดยค่าปกติขึ้นอยู่กับเพศอายุและส่วนสูง
3.ประเมินความรุนแรงของโรคหืดกำเริบเฉียบพลันโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ
Siriraj ClinicalAsthmaScore(SCAS)
อัตราการหายใจ
การดึงรั้ง (การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ)
อาการหายใจลำบาก
ระดับความอิ่มตัวของออกซิเจน (oxygen saturation)
เสียงหวีด
กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
1 เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์เพื่อการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจทั้งนี้เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่ร่างกาย
2.แลให้ได้รับยาลดการอักเสบกลุ่มสเตียรอยด์ ได้แก่ยา hydrocortisone หรือยาmethylprednisoloneโดยฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
3 ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมกลุ่ม short actingβ2-agonists (SABA) ได้แก่ยา salbutamol พร้อมทั้งเฝ้าระวังผลข้างเคียงที่สำคัญจากยาคือ หัวใจเต้นเร็ว
4 ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา จากนั้นย้ายผู้ป่วยไปดูแลรักษาต่อที่หอผู้ป่วยวิกฤต
กลุ่มที่มีอาการไม่รุนแรง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด โดยรักษาระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนให้ได้มากกว่าหรือเท่ากับ95%
ดูแลให้ได้รับยาลดการอักเสบกลุ่มสเตียรอยด์ได้แก่ยา hydrocortisone หรือยา methylprednisolone โดยฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ หรือยา prednisoloneชนิดรับประทาน
3 ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมกลุ่ม SABAครั้งละ 2-6 puff ในรูปของ metered dose inhaler(MDI) ร่วมกับ spacer หรือ nebulizers ตามแผนการรักษา ทุก 20-30 นาทีโดยให้ได้ถึง3 ครั้งใน 1 ชั่วโมง
ประเมินอาการซ้ำที่1 ชั่วโมง หากอาการดีขึ้น แพทย์จะพิจารณาอนุญาตให้กลับบ้านได้
กรณีที่ผู้ป่วยมาพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินบ่อยตั้งแต่3 ครั้งขึ้นไป ควรพิจารณาส่งผู้ป่วยพบกุมารแพทย์หรือกุมารแพทย์เฉพาะทาง
การให้คำแนะนำด้านสุขภาพ (Help for education) :star:
อาการแสดงที่บ่งถึงอาการจับหืด
อาการไอ
หายใจลำบาก
หายใจเสียง ดังหวีด
หายใจหน้าอกบุ๋ม เพิ่มการใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ
แน่นหน้าอก
การรักษาเมื่อมีอาการจับหืด
การใช้ยา inhaled RABA ใน กรณีที่ไม่มียาชนิดพ่นสูด
อาจพิจารณาใช้ยาขยายหลอดลมชนิดกินได้ ทั้งนี้ ต้องอธิบายให้ผู้ป่วยหรือผู้ปกครองทราบว่ายาอาจไม่ออกฤทธิ์ในทันที
วิธีการประเมินความรุนแรงและผลตอบสนองต่อการรักษาด้วยตนเอง
ภาวะหรือสถานการณ์ที่ต้องไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษาเพิ่มเติม