Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย, นางสาว รักษ์ชนนี โกษาวัง 6001211375 …
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น หากผู้ใดฝ่าฝืนย่อมต้องได้รับโทษตามที่กฎหมายกำหนด
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ
ผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรส ทําใหบ้ ุตรเป1นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายสามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้
ผลร้าย
ริบทรัพย์สิน คือ จะริบทรัพย์สินการกระทําผิดหรือได้มาจากการกระทําความผิด
กักขัง คือ โทษที่ให้กักตัวผู้กระทำความผิดไว้ในสถานที่กักขัง
ปรหารชีวิต คือ การนำตัวผู้กระทำความผิดไปฉีดยาพิษให้ตาย
จำคุก คือ การเอาตัวไปคุมขังไว้ในเรือนจำตามกำหนดเวลาที่ศาลพิพากษา
ปรับ คือ โทษที่ผู้กระทำความผิดต้องชำระเงินตามจำนวนที่กำหนดไว้ในคำพิพากษาต่อศาล
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์
กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัด หรือกําหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด ทําได้หรือไม่ได้
ตัวอย่างเช่น กฎหมายอาญา มาตรา ๓๓๔ บัญญัติว่า“ผู้ใดเอาทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ไปผู้นั้นกระทําความผิดฐานลักททรัพย์”
กฎหมายต้องกําหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
ต้องเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอำนาจรัฐ เช่น องค์กรปงครองส่วนท้องถิ่น รัฐสภา รัฐบาล
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป
ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
ข้อยกเว้นของฑูตต่างประเทศ
ไม่ต้องอยู่ภายใต้กฎหมายภาษีอากร
หากได้กระทําความผิดอาญาก็อาจได้รับเอกสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศไม่ต้องถูกดําเนินคดีในประเทศไทย
ระบบของกฎหมาย
ระบบกฎหมายจารีต ประเพณี
ยึดถือคําพิพากษาในคดีก่อน (Precedent)เป็นหลักบรรทัดฐานในการตัดสินคดี
ประเทศที่ใช้ นิวซีแลนด์, แคนาดา , อังกฤษ สหรฐัอเมริกา , ออสเตรเลีย , อินเดีย
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร
การพิจารณาคดีของศาลจะพิจารณาจากหลักเกณฑ์ทั่วไปสู่การพิจารณาเฉพาะเรื่องโดยการตีความต้องพิจารณาตามตัวบทกฎหมาย
ประเทศที่ใช้ สวิสเซอร์แลนด์, ออสเตรีย , อิตาลี, สเปน, เดนมารก์ , เยอรมัน , ฝรั่งเศส , เบลเยี่ยม, ไทย , จีน , ญี่ปุ่น
ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชบัญญัติพระราชกําหนดและประมวลกฎหมาย
พระราชบัญญัติ (พรบ.)
กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
คือ คณะรัฐมนตรีและสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร
ประมวลกฎหมาย
เป็นการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกันให้มาอยู่ในหมวดเดียวกันอย่างเป็นระบบ
พระราชกำหนด
เป็นกฎหมายที่รฐัธรรมนญู มอบอำนาจให้แก่ฝ่ายบริหาร
กฎกระทรวง
เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายบริหาร
พระราชกฤษฎีกา
เป็นกฎหมายที่กําหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนด
รัฐธรรมนญู
เป็นกฎหมายที่มีศักดิสูงสุดกําหนดรูปแบบการปกครองประเทศ วางระเบียบอำนาจสูงสุดของรฐัหรืออำนาจอธิปไตย ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ
ระเบียบ และข้อบังคับ
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหวัหน้าหน่วยงานองค์กรผ่านความเห็นชอบจากผู้บริหารหน่วยงาน หรือคณะกรรมการ
ประกาศและคําสั่ง
เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
อื่นๆ
ข้อบังคับท้องถิ่นเป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ลักษณะของระบบศาลไทย
ระบบศาลคู่
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญาเท่านั้น
ระบบศาลเดี่ยว
เป็นระบบที่ให้ศาลยุติธรรมมีอำนาจวินิฉัยชี้ขาดข้อพิพาททุกประเภท
ระบบศาลของประเทศไทย
เป็นระบบศาลคู่แยกเป็นอสิระจากกัน
มีผู้พิพากษาหรือตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ
ประเภท
ศาลรฐัธรรมนญูมีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนญูแต่ไม่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาอรรถคดีทั่วไป
ศาลยุติธรรม
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
ศาลชั้นต้น
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
ศาลปกครอง
เป็นศาลที่ใช้ระบบไต่สวน มี 2 ชั้น คือ ศาลปกครองชั้นต้น และศาลปกครองสูงสุด
ศาลทหาร
มีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจําการกระทําผิดตามกฎหมายพระธรรมนญูศาลทหาร
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายแบ่งตามสิทธิประโยชน์และความสัมพันธ์ของบุคคล
กฎหมายเอกชน
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน รวมทั้งหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจที่ดําเนินธุรกิจแบบเอกชน
กฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง เป็นกฎหมายที่กําหนดความสัมพันธ์ของรัฐ เกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน
แผนกคดีบุคคล เป็นกฎหมายที่กําหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐ ในทางแพ่งเกี่ยวกับความประพฤติสิทธิและหน้าที่
แผนกคดีอาญา เป็นกฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้น
กฎหมายมหาชน
บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชนโดยรัฐเป็นฝ่ายปกครองที่มีอำนาจเหนือกว่าประชาชน
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกําเนิดของกฎหมาย
กฎหมายภายใน
เป็นกฎหมายที่องค์กรของรัฐที่มีอำนาจในการบัญญัติกฎหมาย บัญญัติขึ้นใช้ภายในประเทศ
กฎหมายภายนอก
เป็นกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยองค์การระหว่างประเทศ
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
เช่น กฎหมายระเบียบราชการ กฎหมายการเงิน การคลังกฎหมายธุรกิจ กฎหมายสาธารณะสุข กฎหมายอุตสาหกรรม เป็นต้น
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายวธิสีบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล เช่น วิธีพิจารณาความแพ่ง วิธีพิจารณาความอาญา เป็นต้น
กฎหมายสารบัญญัติ
เป็นกฎหมายที่กําหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัติ เช่น กฎหมายแพ่งและพาณิชย์กฎหมายอาญา กฎหมายคุ้มครองแรงงาน เป็นต้น
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
นางสาว รักษ์ชนนี โกษาวัง 6001211375 เลขที่ 63 Section A