Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัวเเบ่งออกเป็น 8 ระยะดังนี้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัวเเบ่งออกเป็น 8 ระยะดังนี้
ระยะที่1
ระยะครอบครัวเริ่มต้น ระยะนี้นับจากเริ่มเเต่งงานจนกระทั่งภรรยาตั้งครรภ์บุตรคนเเรก
สร้างสัมพันธภาพในฐานะคู่เเต่งงานผสานความต้องการเเต่ละฝ่าย พัฒนากลยุทธ์การเเก้ไขปัญหาเมื่อเกิดความขัดเเย้ง สร้างรูปแบบสื่อสารที่เเสดงถึงความรักความห่วงใย
ระยะที่ 2
ระยะเลี้ยงดูบุตรวัยทารก นับจากบุตรเเรกเกิดจนอายุ 2 1/2 ปี
ปรับตัวต่อสภาวะการตั้งครรภ์ คงความสัมพันธ์ผูกพันที่เเสดงถึงความรักความห่วงใยกัน มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการปกติของเด็กการเลี้ยงทารก
Duvall (1971 ) ได้อธิบายเเนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพัฒนาการของครอบครัวในรูปแบบวงจรชีวิตของครอบครัว ( family life cycle)
มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่เเบบแผนของการเปลี่ยนเเปลงชีวิตครอบครัวตามการเวลาที่ผ่านไป ซึ่งเกี่ยวพันธ์กับโครงสร้างของการทำหน้าที่ของครอบครัวในการตอบสนองความต้องการของสมาชิกในครอบครัวเเต่ละระยะของพัฒนาการ
ระยะที่7
ระยะครอบครัววัยกลางคน เป็นระยะที่ครอบครัวปลอดภาวะในการเลี้ยงบุตรเมื่อบุตรส่วนใหญ่คงความสัมพันธ์ผูกพันของคู่สมรสที่แสดงถึงความรักความห่วงใยสร้างหลักประกันความมั่นคงในชีวตหลังวัยเกษียณ คงความสัมพันธ์กับครอบครัวเครือญาติ
ระยะที่ 3
ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน เป็นช่วงที่บุตรเเรกมีอายุ 2 1/2 ปี
มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการของเด็ก ปรับตัวต่อการตอบสนองต่อความต้องการของเด็กอื่นในครอบครัว ( ถ้ามี ) ปรับตัวรับมือต่อภาระในครอบครัวที่เพิ่มมากขึ้น คงความสัมพันธ์ผูกพันที่เเสดงถึงความห่วงใยกัน
ระยะที่ 4
ระยะมีบุตรวัยเรียน เริ่มตั้งเเต่บุตรคนเเรกมีอายุ 6-13 ปี
มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการปกติของเด็กกล่อมเกลาทางสังคมให้ทราบบทบาทในสังคมที่เหมาะสมประสานงานเเละทำงานร่วมกับโรงเรียนอย่างใกล้ชิด สนับสนุนให้เด็กได้ทำกิจกรรมนอกบ้านตามความสนใจ สร้างกฎระเบียบ ความมีวินัย เเละบทบาทหน้าที่ในครอบครัวที่ต้องรับผิดชอบร่วมกัน คงความสัมพันธ์ผูกพันที่เเสดงถึงความรักความห่วงใย
ระยะที่6
ระยะแยกครอบครัวใหม่ ระยะนี้ระยะที่บุตรคนเเรกแยกออกจากครอบครัวออกมามีอาชีพของตนเองหรือเเต่งงานมีครอบครัวของตนเอง ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในระหว่าง 20-22 ปีขึ้นไป
เมื่อมีสมาชิกในครอบครัวย้ายออกไป จากครอบครัวหรือรับคู่สมรสใหม่เข้าครอบครัวต้องมีการจัดมอบหมายบทบาทหน้าที่สมาชิกใหม่ คงความสัมพันธ์ผูกพันระหว่างคู่สมรสที่เเสดงถึงความรักความห่วงใยกัน เเละที่พบมากในสังคมไทยปัจจุบันคือครอบครัวข้ามรุ่น ปู่ย่าตายายอู่กับหลานในขณะบิดามารดาอยู่ต่างถิ่นเพื่อหารายได้
ระยะที่5
ระยะครอบครัวมีบุตรวัยรุ่น ระยะนี้เริ่มตั้งเเต่บตรคนเเรกมีอายุ 13-20 ปี
มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาการปกติของเด็ก สนับสนุนให้วัยรุ่นพัฒนาอัตลักษณ์ตนเองแต่ยังคงร่วมกิจกรรมของครอบครัววางเเผนอนาคตถึงการศึกษาเเละการทำงาน
ระยะที่8
ระยะครอบครัววัยผู้สูงอายุ เป็นระยะตั้งเเต่เกษียณอายุการทำงานจนกระทั่งคู่สมรสคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต
ปรับตัวในชีวิตวัยเกษียณ ปรับบทบาทเป็นปู่ย่าตายายการจากไปของคู่สมรสต้องอยู่ตามลำพัง