Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ, image, จัดทำโดย นางสาวพรนิภา…
บทที่ 7 การช่วยเหลือในการทำสูติศาสตร์หัตถการ
1⃣ การคลอดโดยใช้คีม (Forcep extraction)
ประเภทของคีม
Short Curve Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกมาอยู่ต่ำบริเวณฝีเย็บ
Kielland Forceps เป็นคีมที่ใช้การหมุนของศีรษะทารกภายในอุ้งเชิงกราน
Long Curve Axis Traction Forcep เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกอยู่ค่อนข้างสูง
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบ
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ด้านทารก
สายสะดือพลัดต่ำ
Fetal distress
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดด้วยคีม
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำมีสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนำกับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะท าให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะท าให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
การพยาบาล
การซักประวัติ เช่น การคลอดติดขัด การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การตรวจร่างกาย เช่นการตรวจทางหน้าท้อง, ตรวจช่องทางคลอด, การฟังFHS
3.ประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำคลอดด้วยคีม
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอโดยใช้คีม
2⃣ การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ (Vacuum Extraction)
ข้อบ่งชี้
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิดความล่าช้า
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก Fetal distress
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ
ข้อห้าม
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ปากมดลูกเปิดหมด แต่ถ้าในกรณีจำเป็น 8 cm.
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
MR
ทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
อาจจะเกิด Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1wks
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ (Atelectasis)
การพยาบาล
การซักประวัติ เช่น การคลอดติดขัด การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
การตรวจร่างกาย เช่นการตรวจทางหน้าท้อง, ตรวจช่องทางคลอด, การฟังFHS
3.ประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอด
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นการตรวจสภาพความสมบูรณ์ของทารกโดย Ultrasound
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
ทารกแรกเกิดมีโอกาสได้รับบาดเจ็บจากการคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
3⃣ การชักนำการคลอด (Induction of labour)
หมายถึง การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงเมื่อGA มากกว่า 28 wks. หรือทารกในครรภ์มีน้ำหนักตัวไม่น้อยกว่า 1,000 กรัม ทำให้มดลูกหดรัดตัวและปากมดลูกนุ่มเพื่อให้การคลอดเกิดขึ้น
ข้อบ่งชี้
ทางด้านสูติกรรม
PIH
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM ในรายที่GAมากกว่า 34 สัปดาห์ และไม่เข้าสู่ระยะคลอดเองภายใน 12 hr.
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ(choroamnionitis)
abruptio placenta
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
8.IUGR
hydrops fetalis
oligohydramnios
ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ข้อห้าม
Placenta previa
vasa previa
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการชักนำการคลอด โดยใช้ Bishop scoring system
คะแนนรวมน้อยกว่า 3 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการชักนำคลอด
คะแนนมากกว่า 7 ถือว่าปากมดลูกอยู่ในภาวะที่เหมาะสมต่อการชักนำการคลอด
วิธีการชักนำการคลอดที่นิยม
Medical นิยมใช้ Oxytocin และ prostaglandins
Surgical
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยใช้ยา Oxytocin
เตรียมสารละลายออกซิโตซิน
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ช่วยแพทย์ในการให้สารละลายออกซิโตซินทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ปรับหยดสารละลายออกซิโตซิน เริ่มต้น 5-10 หยด/นาที เพิ่ม 5 หยดทุก 30 นาที จนกว่า
การหดรัดตัวของมดลูกจะดี
ตรวจสอบการหยดของออกซิโตซิน ทุก 30 นาที
ฟังเสียงหัวใจทารกเป็นระยะๆ ทุก 15-30 นาที
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดามีโอกาสเกิดภาวะ Tetanic contraction เนื่องจากการได้รับสารละลายOxytocin
มารดามีโอกาสเกิดความล้มเหลวในการชักนำการคลอดด้วย Oxytocin
ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะ Fetal distress เนื่องจากการได้รับสารละลายOxytocin
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
เตรียมเครื่องมือ
เตรียมผู้คลอด
ก่อนแพทย์ลงมือทำ พยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารก และบันทึกไว้
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลังเจาะถุงน้ำทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้ำคร่ำ
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง ไม่ควรให้ลุกเดินไปมา
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจทุก 15-30 นาที
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ าหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อม Flushing ให้
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อหญิงตั้งครรภ์
ภาวะมดลูกแตก
การตกเลือดก่อนคลอด
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ าคร่ า
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ าคร่ า
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
fetal distress
ภาวะสายสะดือย้อย
คลอดเร็วเกินไป
รติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ า
4⃣ การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง (Cesarean Section)
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
4.มะเร็งปากมดลูก
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
การพยาบาล
ก่อนทำผ่าตัด
9 Vital signs และเสียงหัวใจทารกเป็นระยะ ๆ
8 ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC
.7 ทำการจองเลือดไว้ 2 ยูนิต
6 ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยาก่อนการผ่าตัดตามแผนการักษาของแพทย์
5 ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
.4 ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
3 NPO
2 เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัดให้พร้อม
1 อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ
10 ดูแลให้มารดาถอดฟันปลอม คอนเทคเลนซ์ แหวน ล้างเล็บ
11 เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอทให้เรียบร้อย
12 เตรียมชุดให้เลือด ผ้าห่อทารก
13 ให้เวลาแก่มารดาเพื่อตอบข้อข้องใจและให้ข้อมูลแก่มารดาและครอบครัว
ระยะที่ย้ายมาอยู่หน่วยหลังคลอด
1.ประเมิน ดูแล การหายของแผล การติดเชื้อ สารอาหารและน้ำ หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
2.ประคับประคองด้านจิตใจ
จัดทำโดย นางสาวพรนิภา อ่อนสา รหัส 602701061 :star: