Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทวิเคราะห์ลิลิตตะเลงพ่าย - Coggle Diagram
บทวิเคราะห์ลิลิตตะเลงพ่าย
๑)คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม ลิลิตตะเลงพ่ายนับเป็นวรรณคดีอิงเนื้อหาทางประวัติศาสตร์ทั้งสถานที่จริง เช่น ตำบลตระพังตรุ จังหวัดสุพรรณบุรี และตัวละคร เช่น สมเด็จพระนเรสวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ พระมหาอุปราชา ผุ้ทรงพระนิพนธ์สามารถนำเรื่องราวในประวัติศาสตร์มาถ่ายทอดได้อย่างมีชีวิตชีวา สมจริง ทำให้ผู้อ่านได้เรียนรู้ทั้งประวัติศาสตร์และศิลปะการประพันธ์ที่วิจิตรบรรจง
ลิลิตตะเลงพ่ายปรากฏความเชื่อหลายประการดังนี้
(๒) ความเชื่อเรื่องโชคลางและการมีเคราะห์ ปรากฏให้เห็นหลายตอน ทั้งตอนที่พระมหาอุปราชากราบทูลพระราชบิดาว่าพระองค์กำลังมีเคราะห์ ไม่ควรออกรบจนพระราชบิดากริ้ว และเมื่อพระมหาอุปราชา ต้องฝืนพระทัยนำกองทัพไปตีกรุงศรีอยุธยาก็เกิดลางร้ายขึ้น
(๓) ความเชื่อเรื่องสวรรค์และเทวดา เช่น ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชมีพระราชดำรัสกับเทพยดาบนสวรรค์ในขณะที่ทรงอยู่ในวงล้อมข้าศึก และเกิดฝุ่นฟุ้งตลบมืดครึ้มไปทั่วท้องฟ้า
(๑) ความเชื่อเรื่องความฝัน เช่น ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระสุบินว่า ทรงต่อสู้กับจระเข้ใหญ่ และพระองค์สามารถสังหารจระเข้ตาย จึงโปรดให้โหรทำนายพระสุบิน ซึ่งโหรทำนายว่าพระองค์จะชนะศึกหงสาวดี
๒) คุณค่าด้านวรรณศิลป์
(๑) การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ
๒) สัมผัสระหว่างวรรค
๑) สัมผัสในวรรค
(๒) การเล่นคำ
๑) ซ้ำคำเพื่อเน้นความ
๒) ใช้คำพ้องเสียง เพื่อให้เกิดเสียงไพเราะและความหมายกินใจ
(๖) การใช้พรรณาแนวนิราศ คือ การพรรณนาการเดินทาง และรำพันถึงนางอันเป็นที่รัก เห็นได้จากตอนที่พระมหาอุปราชาเสด็จไปรบแล้วรำพันถึงนางสนม
(๔) การใช้โวหารภาพพจน์
๑) อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนอีกสิ่งหนึ่ง
๒) อุปลักษณ์ คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง
๓) นามนัย คือ การใช้คุณสมบัติหรือส่วนประกอบสำคัญของสิ่งนั้น
(๓) การหลากคำ คือ การเลือกสรรคำต่างๆ ที่มีความหมายเหมือนกันมาใช้ในคำประพันธ์ เพื่อเน้นความและให้เกิดความไพเราะ
(๕ )การใช้คำที่ก่อให้เกิดจินตภาพ คือ การใช้ถ้อยคำมาเรียงร้อยให้ผู้อ่านเห็นภาพอย่างชัดเจน
๔) คุณค่าด้านคุณธรรม ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีที่ทำให้ผู้อ่านภาคภูมิใจในบรรพบุรุษไทย ที่เสียสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อปกป้องผืนแผ่นดินไทย และช่วยปลุกใจให้คนไทยรักชาติ
๓) คุณค่าด้านอารมณ์ นับเป็นความสามารถของกวีในการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครและ เหตุการณ์มายังผู้อ่าน ให้รู้สึกคล้อยตามไปกับเรื่องได้อย่างแท้จริง