Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ความหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอํานาจกําหนดขึ้น เพื่อควบคุมความประพฤติ/พฤติกรรมของมนุษย์ ที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายที่แบ่งตามสิทธิประโยชน์ และความสัมพันธ์ของบุคคล โดยรัฐเป็นศูนย์กลางของความสัมพันธ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
กฎหมายเอกชน (Private Law) เป็นกฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน เช่น กฎหมายแพ่ง เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจําวันของประชาชน โดยบัญญัติถึงฐานะของบุคคล ครอบครัว มรดก หนี้สิน และ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆและกฎหมายพาณิชย์ เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับการค้าขาย หุ้นส่วน บริษัท การ
ประกันภัยและตั๋วเงิน
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
3.2 แผนกคดีบุคคล เป็นกฎหมายที่กําหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐในทางแพ่งเกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่ เช่น สัญชาติ ภูมิลํ าเนา การสมรส การท านิติกรรม และทรัพย์สิน
3.3 แผนกคดีอาญา เป็นกฎหมายที่ก าหนดความสัมพันธ์ในคดีอาญาของบุคคลที่เกิดขึ้นโดยประชาชนของประเทศหนึ่ง เช่น กฎหมายว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน
3.1 แผนกคดีเมือง เป็นกฎหมายที่กําหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับสิทธิและหน้าที่มหาชน (Public rights and duties) ทั้งในเรื่องเขตแดน การฑูต การท าสนธิสัญญา
กฎหมายมหาชน (Public Law) เป็นกฎหมายที่บัญญัติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชน เช่น กฎหมายอาญา เป็นกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับการกระทําผิดและบทลงโทษ
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายต้องมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ หมายความว่า กฎหมายต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานที่ใช้วัดหรือกําหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
กฎหมายต้องกําหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอํานาจ คือ ต้องเป็นคําสั่งหรือข้อบังคับของผู้มีอํานาจในรัฐ (รัฏฐาธิปัตย์)สําหรับประเทศไทย องค์กรที่ทําหน้าที่ออกกฎหมาย เช่น รัฐสภา รัฐบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น
กฎหมายต้องบังคับใช้โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการประกาศใช้แล้ว บุคคลทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ ในเมื่อกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กําหนดความประพฤติของบุคคล
สภาพบังคับนั้นมีทั้งผลร้ายและผลดี
สภาพบังคับที่มีผลร้าย เช่น โทษทางอาญา ซึ่งได้แก่
2) จําคุก
3) กักขัง
1) ประหารชีวิต
4) ปรับ
5) ริบทรัพย์สิน
สภาพบังคับที่มีผลดี เช่น
กรณีจดทะเบียนสมรส ทําให้บุตรเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย
สามารถใช้สิทธิของคู่สมรสไปลดหย่อนภาษีได้ เป็นต้น
ระบบของกฎหมาบ
ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือระบบกฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (Commonlaw system)
เป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป บรรทัดฐาน และเป็นกฎหมายจากคําตัดสินของผู้พิพากษา (Judgemade law) ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา
ระบบกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือระบบประมวลกฎหมาย (Civil law system)
กฎหมายที่แบ่งโดยแหล่งกําเนิดของกฎหมาย แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
กฎหมายภายใน
กฎหมายภายนอก
กฎหมายที่แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหาของกฎหมาย
กฎหมายสาธารณะสุข
กฎหมายที่แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กําหนดสิทธิหรือหน้าที่ที่ให้บุคคลปฏิบัต
กฎหมายวิธีสบัญญัติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาคดีของศาล
ลาดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ (Constitutional Law) เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์สูงสุดระเบียบอ านาจสูงสุดของรัฐหรืออํานาจอธิปไตย ได้แก่ อ านาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ
พระราชบัญญัติ พระราชกําหนด และประมวลกฎหมาย เป็นกฎหมายที่อยู่ในลําดับชั้นเดียวกัน และรองจากรัฐธรรมนูญ
2.1 พระราชบัญญัติ(พรบ.) (Act) คือ กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติหรือรัฐสภา
2.2 ประมวลกฎหมาย (Code of Law) เป็นการรวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายลายลักษณ์อักษรในเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
2.3 พระราชกําหนด (Royal Enactment) เป็นกฎหมายที่รัฐธรรมนูญมอบอํานาจให้แก่ ฝ่ายบริหาร
พระราชกฤษฎีกา (Royal Decree) เป็นกฎหมายที่กําหนดรายละเอียดที่เป็นหลักย่อยของพระราชบัญญัติหรือพระราชกําหนด
กฎกระท รวง (Ministerial Regulation) เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ ายบริหาร
ระเบียบ และข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline) เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
ประกาศและคําสั่ง (Announcement/Command) เป็นกฎหมายที่ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
อื่นๆ: ข้อบังคับท้องถิ่น เป็นกฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง เช่น ข้อบัญญัติ กรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา ข้อบัญญัติจังหวัด และเทศบัญญัติ ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะพื้นที่เท่านั้น
กฎหมายที่แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง
เป็นต้น
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ คณะตุลาการรัฐธรรมนูญที่ยุบเลิกไป และมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม เป็นศาลที่มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอํานาจของศาลอื่น
2.1 ศาลชั้นต้น (Civil court/Court in the First instance) เป็นศาลยุติธรรมที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก เมื่อมีการฟ้องร้องและน าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม
ศาลแพ่ง
ศาลอาญา
2.2 ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court) เป็นศาลลําดับที่สูงกว่าศาลชั้นต้น มีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน เพื่อพิจารณาตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้วแต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
2.3 ศาลฎีกา (Supreme Court) เป็นศาลยุติธรรมสูงสุด มีประธานศาลฎีกาซึ่งเป็นประมุขของตุลาการศาลยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด มีเพียงศาลเดียวตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร
ศาลปกครอง (Administrative Court) มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรมที่มีอํานาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีในทางปกครองซึ่งเป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน
ศาลทหาร ศาลทหารมีอํานาจหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่ทหารกองประจําการกระทําผิด ตามกฎหมายพระธรรมนูญศาลทหาร