Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.5-6.6การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกัน - Coggle…
6.5-6.6การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพ
และการป้องกัน
การส่งเสริมสุขภาพ
การรักษาความสะอาดของร่างกายและการดูแลสุขภาพปากและฟัน
ควรอาบน้ำอย่างน้อยวันละ 2 ครั้งตักอาบ ฝักบัว แช่ตัว ควรระมัดระวังอุบัติเหตุลื่นล้ม
ทำความสะอาดอวัยวะทุกครั้งที่ขับถ่าย
แปรงฟันหลังอาหารทุกมื้อขนอ่อนนุ่ม ควรพบทันตแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง เดือนที่ 4-6 ของการตั้งครรภ์
การแต่งกาย
ควรเลือกเสื้อผ้าหลวมใส่สบาย อากาศถ่ายเทได้สะดวก
ควรสวมรองเท้าส้นเตี้ย
การดูแลเต้านม
เสื้อชั้นในให้พอดีควรเลือกเป็นผ้าฝ้าย
เพราะซับเหงื่อได้ดี
ในขณะที่อาบน้ำใช้ผ้าหรือฟองน้ำชุบน้ำหมาดๆ เช็ดคราบต่างๆ ออกจากเต้านม หัวนม ทำให้มีความยืดหยุ่น หัวนมจะไม่แตกและเจ็บน้อยลง
ไม่ควรใช้สบู่ฟอก
เพราะหัวนมจะแห้งและแตก
ง่าย
การพักผ่อนและการนอนหลับ
ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 8 ชั่วโมง
ท่านอนตะแคง
เพื่อให้เลือด
ไหลเวียนไปยังมดลูก รก และทารก
กลางวันควรนอนพักสัก 30นาที-1 ชั่วโมง
นั่งพัก
ยกขาให้อยู่ระดับเดียวกับสะโพก
นั่งราบเหยียดขา
ถ้าขาบวมควรยกขาสูงเหนือสะโพก
การทำงาน
ได้ตามปกติ
หลีกเลี่ยงการท้างาน
ล่วงเวลา
นั่งนานๆ ควรเปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ
ยืนนานๆ อาจทำให้คลอดก่อนก้าหนดได้
หลีกเลี่ยงงานที่สัมผัสสารเคมีหรือรังสี
การเดินทาง
16-24สัปดาห์เหมาะสม เพราะปรับสภาพร่างกายและจิตใจได้ดี ขึ้น อาการแพ้ท้องดีขึ้นและท้องยังไม่โตมาก
ห้ามรถจักรยานยนต์
ควรคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั้ง
เส้นล่างอยู่บริเวณสะโพกใต้หน้าท้อง
สายบนอยู่ระหว่างเต้านมสองข้าง
และควรพักการเดินทางทุก 1ชั่วโมง
เพื่อให้เปลี่ยนอิริยาบถ
หลีกเลี่ยงการเดินทางไกล
หากเดินทางโดยเครื่องบิน
1 ถึง 27 สัปดาห์ขึ้นได้ไม่ต้องแนบใบรับรองแพทย
อายุครรภ์ 28-35 สัปดาห์ ต้องมี
ใบรับรองแพทย์ยืนยัน ไม่เกิน 7 วัน
ระยะเวลาบินน้อยกว่า 4 ชั่วโมง อนุญาตจนถึงอายุครรภ์ 36 สัปดาห์
นานกว่า 4 ชั่วโมง ต้องมีอายุครรภ์ไม่เกิน 34 สัปดาห์
ภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน
*(ห้าม
)*
ครรภ์แฝด
มีประวัติการแท้ง
มีความเสี่ยงในการแท้ง
ความดันโลหิตสูง
ตกเลือดระหว่างตังครรภ์ปัจจุบัน
โรคเบาหวาน
การหลีกเลี่ยงปัจจัยที่มีผลต่อ
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ไม่ควรซื้อยากิน
งดการฉายรังสี
ไม่ควรดื่มสุราเพราะสามารถซึมผ่านรกได้ทำให้ทารกน้ำหนักตัวน้อย หน้าบวม พัฒนาการล่าช้า
ไม่ควรสูบบุหรี่หรืออยู่ใกล้คนสูบบุหรี่ งดชากาแฟ ทำให้มีน้ำหนักน้อยหรือคลอดก่อนก้ำหนด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การรับภูมิคุ้มกัน
วัคซีนป้องกันโปลิโอ
วัคซีนหัดเยอรมัน และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ให้ก่อนหลังตั้งครรภ์
วัคซีนไวรัสตับอักเสบะ ให้ขณะตั้งครรภ์ แต่ควรหลีกเลี่ยงไตรมาสแรก
วัคซีนบาดทะยัก (Tetanus Toxoid, TT)ปัจจุบันให้ (Diptheria, Tetanus,Pertussis vaccine, DTP)
การมีเพศสัมพันธ์
คู่สมรสที่มีสุขภาพแข็งแรงไม่มีข้อห้าม
ระยะไตรมาสแรกไม่รุนแรง
อายุครรภ์มากขึ้น ควรหลีกเลี่ยงท่าที่กดทับบนหน้าท้อง
มีประวัติคลอดก่อนก้าหนดควร
งดในช่วง 3 เดือนก่อนคลอด
หญิงตั้งครรภ์ที่มีข้อห้าม
เลือดออกทางช่องคลอด
มีการติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธ์
และอยู่ระหว่างการรักษา
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินขนาดของมดลูกเเละการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวทุกครั้ง
การวินิจฉัยปัญหาด้านสุขภาพและปัจจัยเสี่ยง
การวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนการส่งเสริม
การติดตามประเมินผล และการส่งต่อในรายที่มีปัญหา
คุณภาพและปริมาณอาหารที่ได้รับ และพฤติกรรมบริโภคแจ้งผลให้หญิงตั้งครรภ์ทราบทุกครั้ง
การดูแลด้านโภชนาการ
น้ำหนักควรเพิ่ม 11.5-16 กิโลกรัม
ไตรมาสแรกน้ำหนักควรเพิ่มขึ้น 1-1.5 กิโลกรัม
ไตรมาสที่ 2 น้ำหนักควรเพิ่มประมาณ 4-5 กิโลกรัม
ไตรมาสที่ 3 น้ำหนักควรเพิ่มประมาณ 5-6 กิโลกรัม
ครึ่งกิโลกรัมต่อสัปดาห์
ครบทั้ง 5 หมู่ทั้ง 3 มื้อ
โปรตีน
1.5 กรัมต่อน้ำหนัก 1
กิโลกรัม/วัน
7 กรัมต่อวัน
เพิ่มกรดอะมิโน
สร้างเซลล์และการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เพิ่มปริมาณเลือด
ไข่วันละ 1 ฟอง
ดื่มนมวันละ 2 แก้ว
เนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์
ถั่วต่างๆ ธัญพืชมื้อละ 3-4 ช้อนต่อวัน
คาร์โบไฮเดรต
ควรได้รับเท่ากับก่อนตั้งครรภ์
ควรลดแป้งและน้ำตาล
ไม่ควรเพิ่มคาร์โบไฮเดรตมากในไตรมาสที่ 3 เพราะการท้างานของ insulin ลดลง
วันละ 9 ทัพพีโดยเฉพาะข้าวกล้อง
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง
ไขมัน
ควรรับประทาน
นม
เนย
เพราะมีวิตามินA , D , Ca
อาหารที่มีกรดไขมันที่จำเป็นDHA หรือ Omega-3 fatty acid
ปลาทูน่า
ไข่แดง
ปลาแซลมอน
ปลาซาร์ดีน
อาหารที่มีไขมันลดลงเพราะย่อยยาก
วิตามินและเกลือแร่ต่างๆ
วันละ 6 ทัพพี หรือ 3 ถ้วย
ต้องการมากกว่าปกติ
ธาตุเหล็กและโฟเลท
สร้างเม็ดเลือดแดง
สำรองไว้ในตับครรภ์ไตรมาสที่ 3
ต้องการธาตุเหล็ก 60 มิลลิกรัมต่อวัน
ครรภ์แฝดควร
ได้รับธาตุเหล็ก 120 มิลลิกรัมต่อวัน
มีภาวะโลหิตจางควรได้ 200 มิลลิกรัมต่อวัน
ไอโอดีน
250 ไมโครกรัมต่อวัน
การเผาผลาญอาหาร ควบคุมการเจริญเติบโต และ
พัฒนาการทางสมอง และประสาทของตัวอ่อน ปฏิสนธิจนถึงอายุ 2 ปี
ผ่านทางรก
แคลเซียม
800-1,000 มิลลิกรัมต่อวัน
กุ้งแห้ง
ปลาเล็กปลาน้อย ปลาไส้ตันแห้ง
เนื้อสัตว
นมถั่วเหลือง เต้าหู้
น้ำ ดื่มน้ำให้เพียงพอ วันละ 6-8 แก้ว
การส่งเสริมพัฒนาการในระยะตั้งครรภ์
ให้บิดามีกิจกรรมร่วม เช่น การตั้งชื่อบุตร การเตรียมของใช้
แนะนำมารดาลูบหน้าท้องพูดคุยกับทารก
การออกกำลังกายก่อนคลอด (Antenatal exercise)
เพื่อให้ร่างกายเตรียมพร้อมที่จะคลอด
หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ควรใส่เสื้อผ้าหลวม
เริ่มทำครั้งแรก 10-15 นาทีทุกวัน ๆ ละ 1-2 ท่า แล้วจึงเพิ่มเป็นวันละ20 นาทีวันละ 4-5 ท่า แต่ถ้าเหนื่อยก็รีบหยุดทันที
ควรหยุดออกก้าลังกายและปรึกษาแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติ
การสังเกตอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์ทันที
ปวดท้องน้อย
ตกขาวและคัน ปัสสาวะแสบขัด คลื่นไส้อาเจียน
มีเลือดหรือมีน้ำคร้ำออกทางช่องคลอด
มีอาการบวมร่วมกับปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกเสียดยอดอก
อาการเจ็บครรภ์เตือนและ
อาการเจ็บครรภ์จริง
การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาทารก
การแสดงบทบาทการเป็นมารดา
การมีปฏิสัมพันธ์กับทารกในครรภ์
การยอมรับความเป็นบุคคลของตนและของทารกในครรภ์
การสนใจ คุณลักษณะและรูปร่างหน้าตาของทารก
การอุทิศตนเพื่อทารกในครรภ
ควรส่งเสริมความรู้สึกผูกพัน
คลำส่วนต่าง ๆ ของทารกผ่านทางหน้าท้อง
ลูบหรือสัมผัสหน้าท้อง เมื่อทารกในครรภ์ดิ้น
สนใจเกี่ยวกับปฏิกิริยา การดิ นของทารกในครรภ์ และบันทึกพฤติกรรม
ฟังเสียงหัวใจทารก อัตราการเต้นของหัวใจ
แนะนำให้มารดาตั้งชื่อ เรียกชื่อทารก
ทำอัลตราซาวด์ระหว่างตั้งครรภ์
บทบาทของสามีในระยะที่ภรรยา
ตั้งครรภ์ มี 5 ด้าน คือ
การรับรู้การเปลี่ยนแปลงของตนเอง
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การสร้างความสัมพันธ์กับทารกในครรภ์
การรับรู้การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์กับคู่สมรส
การยอมรับการตั้งครรภ์