Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS, นางสาววาริพินทุ์ ตึดสันโดษ…
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
Triage การคัดแยกผู้ป่วย
Emergent
ผู้ป่วยด่วนมาก แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง
ได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตภายใน 1 นาที
ไม่เกิน 4 นาที ได้แก่ ผู้ป่วยหยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
Urgent
ผู้ป่วยฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์ สีเหลือง
สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต
หากรอนานเกินไปอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจนถึงชีวิตได้
ได้แก่ ผู้ป่วยมีบาดแผล(ไม่มีเลือดออกมาก)
Non urgent
ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน แทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว
เช่น ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง (สัญญาณชีพปกติ) ท้องโต
ผู้ป่วยเสียชีวิต
หมดหวังในการรักษา
แทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
สาธารณภัย
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางสิ่งแวดล้อม
ทางสาธารณูปโภค
ทางสังคม การเมืองและการปกครอง
ทางเศรษฐกิจ
ทางการสาธารณสุข
บทบาทของพยาบาล
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
ขนส่ง
การักษา
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
การสั่งการ
การสื่อสาร
การฟื้นฟูบูรณะ
การเตรียมความพร้อม
การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
ประเมินสถานการณ์ภัย
การปกป้อง
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
A–Assess Hazards
R–Recovery
E–Evacuation
T–Triage/Treatment
S–Support
S–Safety and Security
I-Incident command
D–Detection
การพยาบาล
ทักษะทางการพยาบาลอย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่นโดยทำงานประสานความร่วมมือกับวิชาชีพอื่น
กิจกรรมที่มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัยบนพื้นฐานองค์ความรู้
EMS
ช่วยเหลือตลอด 24 ชั่วโมง
เน้นหนักรวดเร็ว รักษาถูกต้อง
มีส่วนร่วมจากทุกภาค ทุกองค์กรในชุมชนทุกระดับ
การจัดให้มีการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์
PROACTIVE DISASTER MANAGEMENT CYCLE
Preparedness
Prevention/Mitigation
V&H Assesment
Hazard&Risk Reduction
Reconstruction
Rehabilitation/
Analysis Assessment
Damage and Needs
Rescue and Relief
DISASTER IMPACT
Early Warning
Disaster management cycle
หลังเกิดภัย ฟื้นฟูบูรณะและก่อสร้างใหม่
ระหว่างเกิดภัย ตอบโต้และบรรเทาทุกข์
ก่อนเกิดภัย
การเตรียมความพร้อมรับภัย
ป้องกันและลดผลกระทบ
Mass casualty or Mass Emergency
Mass Casualt Incident
ต้องรายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทราบเพื่อดำเนินการ
เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
บาดเจ็บตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป
Multiple-Casualt Incident
ต้องขอความร่วมมือจากอื่นๆ
มีอาการสาหัสหลายราย
บาดเจ็บไม่เกิน 100 คน
Multiple-Patient Incident
สามารถจัดการได้ ไม่ต้องเปิดใช้แผน
อาการไม่สาหัสมากทางหน่วยตรวจฉุกเฉิน
บาดเจ็บมากกว่า 10 คน
อุบัติเหตุกลุ่มชน เป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
ประเภท
จากมนุษย์
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
ตามธรรมชาติ
ภัยทางชีวภาพ : การระบาดของโรค
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด
ตามสภาพภูมิประเทศ : อุทกภัย หิมะถล่ม
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล ภัยแล้ง น้ำท่วม
เป็นภัยที่เกิดแก่คนหมู่มาก เกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นอันตรายต่อชีวิตและร่างกายต่อประชาชน เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ก่อให้เกิดความต้องการสิ่งจำเป็นพื้นฐานอย่างรีบด่วน
ความหมาย
อวัยวะทำงานผิดปกติจนถึงขั้นล้มเหลวตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป
ชนิดของ MODS
Primary MODS
Secondary MODS
ทฤษฏี/สมมุติฐานการเกิดกลุ่ม MODS
Macrophage theory
กระตุ้น macrophages บริเวณที่มีการบาดเจ็บมากเกิน และกระตุ้น neutrophils, endothelial cell ทั่วทั้งร่างกาย ทำให้มีการทำลายอวัยวะที่ห่างไกลจากจุดเกิดเหตุ
Microcirculatory hypothesis
Tissue hypoxia จาก hypotension & shock
Endothelial-Leukocyte Interaction
ปฎิสัมพันธ์ระหว่างเม็ดเลือดขาว & เซลเยื่อบุผนังด้านในของหลอดเลือด
Gut Hypothesis
การบาดเจ็บรุนแรงทำให้เกิด gut hypoxia, mucosal leakage ทำให้ bacterial translocation เข้ามาในร่างกายผ่าน portal system เข้าตับ กระตุ้นKupffer’s cells หลั่ง pro-inflammatory cytokines ออกมามากกระจาย
อาการ
หัวใจและหลอดเลือด
ช็อค บวม
มีCardiac output ลดลง
หายใจ
มีภาวะ respiratory alkalosis
หายใจเร็ว มีภาวะ Hypocapnia และ Hypoxemia
มีภาวะขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง จนถึง Acute respiratory distress syndrome
มีการคั่งของ CO2 ในเลือดแดง
ทางเดินอาหาร ท้องอืด
ตับ
มีอาการของcholestasis
ระดับ bilirubin เพิ่มขึ้น มีค่า PT ยาวขึ้น
มีอาการดีซ่าน
มีค่า transaminase สูงขึ้น อาการดีซ่านอย่างรุนแรง
เมตาบอลิซึม
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ต้องการอิสุลินเพิ่มขึ้น
ภาวะ Catabolism ที่รุนแรง
Metabolic acidosis
กล้ามเนื้อลีบ ภาวะ Lactic acidosis
ประสาทกลาง
วุ่นวาย
ซึม เฉื่อยชา
ไม่รู้สึกตัว
ไม่รู้สึกตัว
เลือด
เกล็ดเลือด RBC ต่ำ
เลือดแข็งตัวเป็นลิ่ม
ไต
ปัสสาวะออกน้อย ตอบสนองต่อยาขับปัสสาวะไม่ดีเท่าที่ควร
ปัสสาวะออกน้อย ตอบสนองต่อยาขับปัสสาวะไม่ดีเท่าที่ควร
การบาดเจ็บที่ใบหน้า
มีเลือดในช่องปากหรือจมูกและฟันหลุดในช่องปาก กระดูกขากรรไกรบนที่แตกรุนแรง
ประเมินโดย
ตรวจร่างกายเบื้องต้น primary assessment
การรักษา
Clear airway
Control hemorrhage
Management of shock
การบาดเจ็บที่คอ
อาการแสดง
ปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง,
ปวด, บวม,อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็น
มีแขนหรือขาชา และ อ่อนแรงร่วมด้วย
การรักษา
ดามคอที่หักให้ตรง rigid cervical collar
ดึงกระดูกคอ
การผ่าตัด
การบาดเจ็บที่ทรวงอก
ทางเดินหายใจส่วนบน พบกล้ามเนื้อบริเวณคอโป่ง sternocliedomastoid
อากาศยังไม่สามารถเข้าปอดได้ ทรวงอกจะขยายออกไม่เต็มที่ แต่มีส่วนที่ยุบเข้าไปได้ คือ Suprasternal notch supraclavicular Fossae Intercostal space และ Epigastium จะยุบตัวเข้าไปทันที
ภาวะการเปลี่ยนแปลงในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีลมรั่วเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีของเหลวเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีการติดกันของเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกและชั้นใน
ภาวะที่มีการเสียความแข็งแรงของผนังทรวงอก หรือภาวะอกรวน
ภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่ทำให้เกิดการเบียดเมดิเอสตินั่มไปข้างใดข้างหนึ่ง
ภาวะที่ทำให้เกิดการแกว่งของเมดิเอสตินั่ม
ภาวะที่มีก้อนหรือต่อมน้ำเหลืองโตในเมอิเอสตินั่ม
ภาวะการติดเชื้อในเมดิเอสตินั่ม
ภาวะการกดต่อเมดิเอสตินั่ม
รักษา
ยึดหลัก ABCD
ภาวะอกรวน ยึดทรวงอกให้อยู่นิ่ง
รักษาภาวะช็อค
Cardiac tamponade ควรทำ Pericardiocentesis
การบาดเจ็บที่ช่องท้อง
2 ประเภท
Blunt trauma
การบาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุที่ท้อง หรือถูกกระแทก
ช่วยเหลือ โดยวิธีการผ่าตัด สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
Penetrating trauma
การบาดเจ็บที่มีแผลทะลุหน้าท้อง
การบาดเจ็บที่มีแผลถูกแทงจากของมีคม
การบาดเจ็บที่ท้องที่มีแผลถูกยิง : การผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การดู
รอยช้ำ รอยแผลบริเวณท้อง หลัง เอว และรอบสะดือ
ท้องโป่งตึง โดยต้องมีเลือดออกมากกว่า 1.5 ลิตรท้องจึงจะโป่งตึง
การคลำ
เกร็งหน้าท้องเองเวลากด
หน้าท้องเกร็งจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
การกดหน้าท้องแล้วปล่อยอย่างรวดเร็ว
การฟัง, การเคาะ
พบเสียงลำไส้ที่ช่องอก เคาะทึบ หรือโป่ง
อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด หมดสติ ช็อก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
Blood chemistry : glucose BUN, cr, Amylase, LFT
Blood type, screen and cross match
Serum chemistry
Liver function studies : LFT
Urinalysis
Coagulation profile: PT,PTT
การตรวจพิเศษ
Focused Assessment with Sonography for Trauma (F.A.S.T.)
Imageingstudy
CXR, Plain Abdomen, Film Pelvis, Film spine
Diagnostic peritoneal lavage (DPL)
รักษา
ช่วยเหลือเบื้องต้น ทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต การดามกระดูกสันหลัง
วัตถุที่เสียบคา ทำให้สั้นลง ทำให้นิ่งอยู่กับที่ให้มากที่สุดจนกว่าจะได้รับการผ่าตัด
อวัยวะในช่องท้องที่โผล่ทะลักออกมาปิดคลุมด้วยผ้าก็อซชุบน้ำเกลือ และปิดทับด้วยผ้าก็อซแห้ง
การรักษาตามอาการและผลกระทบจากการถูกทำลายของอวัยวะนั้นๆ เช่น ตับไตม้าม
การผ่าตัด
การบาดเจ็บกระดูกเชิงกราน
อาการและอาการแสดง
มีแผลที่ทวารหนักหรือช่องคลอด,เลือดออกทางเดินปัสสาวะ
คลำกระเพาะปัสสาวะได้,ตรวจทางทวารหนักคลำตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
คลำได้ชิ้นกระดูกหรือเลือดคั่งจากการตรวจทางทวารหนั
มีเลือดออกหลังเยื่อบุช่องท้อง
โคนขาจะขยายออกทั้งสองข้าง
เลือดคั่งในถุงอัณฑะ
การดูแลรักษาเบื้องต้น
วัดสัญญาณชีพ ประเมินการสูญเสียเลือดอย่างรุนแรง
ให้สารน้ำทดแทน เพื่อรักษาปริมาตรของสารน้ำในระบบไหลเวียนอย่างรวดเร็ว
การ Reduction และ Stabilization ทำ External fixator
การผ่าตัดผูกหลอดเลือด
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บที่ไต
การบาดเจ็บที่ท่อไต
การบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะ
การบาดเจ็บต่อหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บอวัยวะเพศ
การตรวจร่างกาย
การดู
รอยจ้ำเลือดบริเวณบั้นเอวหน้าท้องหรือบริเวณฝีเย็บ
เลือดออกบริเวณรูเปิดของทางเดินปัสสาวะ
การฟัง เสียง bruits
การเคาะ
เคาะหากระเพาะปัสสาวะ
เคาะหน้าท้องทั่วไปว่าทึบหรือไม่
การคลำ
การกดเจ็บและแข็งเกร็งบริเวณบั้นเอว
ตรวจทวารหนักเพื่อดูตำแหน่งของต่อมลูกหมาก
คลำหาก้อนบริเวณท้องและบั้นเอว
วัดรอบท้องตรวจดูภาวะท้องอืด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
BUN และCreatinine
CBC
การตรวจพิเศษ
Plain KUB (X-ray)
Intravenous pyelography Retrograde pyelography
การรักษา
การใส่ท่อระบายกระเพาะปัสสาวะ
ผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะที่ เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สะอาด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
ประเมินอาการแสดงของภาวะล้มเหลวหลายระบบ เช่น SIR
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดอย่างเพียงพอ
ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ดูแลให้สารอาหารอย่างเพียงพอ ติดตาม bowel sound และชั่งนน.ตัวทุกวัน
ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ
นางสาววาริพินทุ์ ตึดสันโดษ รหัสนักศึกษา 612501073