Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบเลือด
Snake bite
Pit-viper ได้แก่ งูกะปะ (Malayan pit viper; Calloselasma rhodostoma) และงูเขียวหางไหม้ (green pit viper; Trimerusurus spp.)
pit-viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thrombin-like ไม่มีภาวะ DIC มีผลทำลายเกล็ดเลือด ให้มีการลดลงของเกล็ดเลือด
อาการ
ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มาก ได้แก่ งูแมวเซา มีอาการเลือดออกผิดปรกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน, จุดเลือดตามตัว, ปัสสาวะเป็นเลือด, อาเจียนเป็นเลือด
มีอาการและอาการแสดงของภาวะ DIC และมีอาการของภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน
งูพิษต่อระบบเลือด การตรวจ Complete Blood count จะพบว่าปริมาณเกล็ดเลือดลดลง
การตรวจ Prothrombin time (PT), partial prothromboplastin time (PPT), Thrombin time (TT) จะมีค่า >20 นาที
การรักษา
หยุดการเคลื่อนไหวโดยเฉพาะบริเวณที่ถูกกัด
ให้ยาแก้ปวด แอเคตามิโนเฟน ไม่ให้ยาแก้ปวดที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ที่ถูกงูพิษต่อระบบประสาทกัด และไม่ให้ แอสไพรินในผู้ป่วยที่ถูกงูพิษต่อระบบเลือดกัด
ให้ยากันบาดทะยัก ในกรณีงูพิษต่อระบบเลือด
การให้เซรุ่ม VCT > 20 นาที
ต้องเตรียมยาแก้แพ้เซรุ่มแก้พิษงูไว้ก่อนเสมอ โดยใช้ adrenalin 1:1,000 ขนาด 0.5 มล.สำหรับผู้ใหญ่ หรือ 0.01 มล.ต่อน้ำหนักตัว 1 กก. สำหรับเด็ก ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือเข้ากล้ามเนื้อ
พิษต่อระบบเลือด (hematotoxin)
Viper ได้แก่ งูแมวเซา (Russell’s viper; Daboia russelli)
พิษต่อระบบเลือด คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย (bleeding tendency)
กระตุ้น factor X และเปลี่ยน โปรธร็อมบิน ให้กลายเป็น ธร็อมบิน ใน common pathway ของกระบวนการแข็งตัวของเลือด (coagulation cascade)
ทำให้ เกิดเป็นลิ่มเลือดทั่วทั้งร่างกาย (disseminated intravascular coagulation, DIC) จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปกติ
การดูแลผู้ป่วย
ระมัดระวังภาวะเสี่ยงต่อเลือดออก (Bleeding precaution)
การติดตามผู้ป่วย ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง หากยังมีภาวะเลือดออก หรือVCT ยังผิดปกติ สามารถให้เซรุ่มแก้พิษงูซ้ำได้อีก จน VCT ปกติ
ผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง
การพยาบาลผู้ป่วย DIC
หลีกเลี่ยงการใช้ยาเข้ากล้ามเนื้อเเละ rectal suction
ภาวะซีด
ภาวะซีด เป็นภาวะที่มีจำนวนเม็ดเลือดแดงในร่างกายน้อยลงหรือน้อยกว่าปกติ โดยระดับของ Hemoglobin ลดลงต่ำกว่าค่าปกติ
สาเหตุของภาวะซีด
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายเพิ่มขึ้นหรือมากผิดปกติ
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
ภาวะซีดจากการทำงานของไขกระดูกล้มเหลว
สาเหตุ
ภาวะซีดจากการขาดสารอาหารที่จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง
ภาวะซีดจากการทำงานของไขกระดูกล้มเหลว
ภาวะซีดจากการพยาธิสภาพของโรคต่าง
อาการของผู้ป่วยที่มี่ภาวะซีดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายอย่างผิดปกติ เช่น ธารัสซี้มีย จี6พีดี
ภาวะซีดจากธาลัสซีเมีย (Thalassemia ) ภาวะที่ทำให้มีการสร้างสายโกลบิน (Globin) ลดลงหรือไม่สร้างเลย
โรคธาลัสซีเมียเมเจอร์ (Thalassemia major) เป็นความผิดปกติรุนแรงเพราะมีสภาวะโฮโมไซกัส (Homozygous state) มียินผิดปกติซึ่งได้รับมาจากทั้งบิดามารดา มีความผิดผกติของการสร้างสายแอลฟา (Alpha-defect thalassemia)
อาการ
ซีด โหนกแก้มสูง หน้าผากนูนใหญ่ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังคล้ำเพราะเม็ดเลือดแดงแตกมากทำให้เหล็กเพิ่มขึ้น
เป็นความผิดปกติของการสังเคราะห์ฮีโมโกลบินซึ่งถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ทำให้มีการสร้างฮีโมโกลบินเอฟ (HbF) และฮีโมโกลบินแอลฟาทู (Hb 2) มากเกินปกติในผู้ใหญ่
a-Thalassemia major
สาเหตุให้เกิด Hydrops fetalis และ Fulminant intrauterine congestive heart failure เด็กทารกมีหัวใจและตับโต บวมและท้องมาน (Massive ascites)
b -Thalassemia minor
ม้ามโตเล็กน้อย ผิวหนังเป็นสีบรอนซ์ ความรุนแรงของภาวะซีด มักไม่มีอาการ
ภาวะซีดจากการเสียเลือดจากร่างกาย
เสียเลือดมากกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณเลือดทั้งหมดของร่างกาย เช่น การเสียเลือดจากอุบัติเหตุ การเสียเลือดจากทางเดินอาหาร
อาการ เหลือง ซีด อาการเหนื่อยง่ายหรือรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง เช่น การเดินขึ้นบันได ทำงานไม่ค่อยไหว อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น
ลิ้นเลี่ยนแสดงถึงภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ทำให้ผิวลิ้นเลี่ยนและซีด
การรักษาภาวะซีด
การรักษาทั่วไป เป็นการบำบัดอาการของภาวะซีด เช่น ลดการออกแรง ให้ออกซิเจน ให้เลือดทดแทน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะซีด
พฤติกรรมการรับประทานยาที่ถูกต้อง โดยรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การให้คำปรึกษาก่อนแต่งงาน ตลอดจนการวางแผนครอบครัว
การพักผ่อน และการออกกำลังกาย
ภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
ภาวะซีกจากการขาดวิตามินบี12
ภาวะซีดอะพลาสติก
สาเหตุภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron-deficiency anemia; IDA)
การเสียเลือดชนิดเฉียบพลันหรือเรื้อรัง ได้แก่ เสียเลือดจากอุบัติเหตุ
การได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ
2.1 กลุ่มที่มีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น ได้แก่ ทารกคลอดก่อนกำหนด
2.2 กลุ่มที่ได้รับธาตุเหล็กจากสารอาหารไม่เพียงพอ
ผลของการขาดธาตุเหล็กต่อการทำงานของร่างกาย
ผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน ทำให้มีประสิทธิภาพในการทำงานลดลง เนื่องจากอาการเหนื่อยง่าย
ผลต่อการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลต่อการตั้งครรภ์ มารดาที่มีภาวะซีดโดยเฉพาะถ้ามีภาวะซีดตั้งแต่ไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เกี่ยวกับประวัติในครอบครัว
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับโต และม้ามโต
การตรวจร่างกาย ซีด เหลือง ตับโต และม้ามโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยตรวจสเมียร์เลือดมีลักษณะเม็ดเลือดแดงผิดปกติร่วมกับการทำ Hemoglobin typin เช่น Red cell indices พบเม็ดเลือดแดงมีลักษณะติดสีจาง และมีขนาดเล็ก (Hypochromic microcytic) และรูปร่างผิดปกติ (Poikilocytosis)
การรักษา
แบบประคับประคอง และป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
1.3 การให้เลือดมี 2 แบบ คือ การให้เลือดอย่างสม่ำเสมอ
1.4 ยาขับเหล็ก ในรายที่ได้รับเลือดเป็นประจำ
1.5 การตัดม้าม ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับเลือด
1.2 กรดโฟลิก (Folic acid) ซึ่งเป็นยาบำรุงเม็ดเลือด
1.1 ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงและหลีกเลี่ยงยาบำรุงที่มีธาตุเหล็ก
การรักษาต้นเหตุ
2.1 การปลูกถ่ายไขกระดูก สามารถนำไขกระดูกจากพี่น้องซึ่งมีระดับ Human leukocyte antigen (HLA) ที่เข้ากันได้
2.2 การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำหนดเม็ดเลือด เป็นหนทางเดียวที่จะรักษาโรคธาลัสซีเมียให้หายขาดได้โดยได้รับจากพี่น้องหรือผู้บริจาคที่มี Human leukocyte antigen (HLA) ตรงกัน
ให้ Packed red cell, Platelet และให้เลือดชนิดต่าง ๆ การปลูกถ่ายไขกระดูกสำหรับผู้ป่วยที่มีเม็ดเลือดขาวต่ำ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute leukemia) เกิดจากการเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนอย่างรวดเร็ว
Lymphoid และ myeloid
Lymphocytic leukemia คือ การที่พบเซลล์ในสาย Lymphoid ได้แก่ Lymphocytes และplasma cells ที่ผิดปกติเป็นจำนวนมากในกระแสเลือด
Myelogenous leukemia คือ การที่พบเซลล์ที่ผิดปกติในสายmyeloid ได้แก่ eosinophils, neutrophils, และ basophils เพิ่มมากขึ้นในกระแสเลือด
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง (Chronic leukemia) เกิดจากการที่ร่างกายสร้างเซลล์เม็ดเลือดที่ผิดปกติออกมาเป็นจำนวนมากกว่าเซลล์เม็ดเลือดที่ปกติ
สาเหตุ
สารก่อมะเร็ง
รังสี (Ionizing radiation
การรักษา
วิธีการรักษา
วิธีการรักษา
เคมีบำบัด Chemotherapy
การปลูกถ่ายไขกระดูก Bone marrow transplantation
การสร้างภูมิคุ้มกัน Biological therapy